Page 147 - journal-14-proceeding
P. 147

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                   PP60G0058 การศึกษาเปรียบเทียบองคประกอบทางเคมีเบื้องตนของสมุนไพรใช

                                   แทนกันระหวางโกษฐจุฬาลัมพาและหญาตีนนกโดยวิธีรงคเลขผิวบาง (Thin-Layer
                                   Chromatography; TLC)


               อดิสรณ คงคํา, จิตรลดา คงคํา, เจนจิรา แสงศรี, สุวรรณา กองสูง, อินทรชญาณ ชัยเลี้ยว
               หนวยปฏิบัติการวิจัยการแพทยแผนเดิม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

               หลักการและเหตุผล โกษฐจุฬาลัมพา (Artemisia annua  L.) เปนเครื่องยาที่มีรสสุขุมหอม รอน สรรพคุณ

               ตํารายาไทยใชแกหืด แกไอ ขับเหงื่อ ตํารายาจีน ใชแกไขอันเนื่องจากวัณโรค มีสารอารติมิซินินมีฤทธิ์ตานเชื้อ
               ไขจับสั่น โกษฐจุฬาลัมพาเปนเครื่องยาที่มีการใชอยางแพรหลายในตํารับยาไทย สมุนไพรแตละชนิดจะมี
               สรรพคุณรักษาโรคที่แตกตางกัน แตในการปรุงยาอาจพบปญหาจากการที่เครื่องยาที่ตองการ หรือในตํารายา
               นั้น ไมมีหรือขาดไป ในทางการแพทยแผนไทยมีการใชตัวยาที่มีสรรพคุณใกลเคียงกัน หรือมีสรรพคุณเสมอกัน
               นั้นนํามาใชแทนกัน ตามทฤษฎีทางการแพทยแผนไทยมีการใชหญาตีนนกแทนโกษฐจุฬาลัมพา ซึ่งเครื่องยาที่

               เรียก “หญาตีนนก” นั้นมีพบ 3 ชนิด คือ Mollugo pentaphylla L., Eleusine indica (L.) Gaertn. และ
               Digitaria ciliaris (Retz.) Koeler จากการทบทวนวรรณกรรมยังไมเคยมีการศึกษาเปรียบเทียบองคประกอบ
               ทางเคมีของสมุนไพรทั้งสองชนิด จึงทําการศึกษาโกษฐจุฬาลัมพาและหญาตีนนกโดยเปรียบเทียบองคประกอบ

               ทางเคมีในครั้งนี้ ซึ่งจะเปนการลดการนําเขาสมุนไพร รวมถึงเปนขอมูลประกอบในการพิจารณาตั้งตํารับยา

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบองคประกอบทางเคมีเบื้องตนของโกษฐจุฬาลัมพาและหญาตีนนกดวยการ
               ตรวจสอบเอกลักษณโดยวิธีรงคเลขผิวบาง


               วิธีดําเนินการ  เปนการศึกษาแบบการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ตัวอยางสมุนไพรโกษฐ
               จุฬาลัมพาและหญาตีนนก  3  ชนิด  มาทําการตรวจสอบองคประกอบทางเคมีของสารสกัด 3 เฟส คือ n-

               hexane, ethyl acetate และ methanol โดยใชวิธีรงคเลขผิวบาง (Thin-Layer Chromatography; TLC)
               และทําการตรวจสอบเพื่อเปรียบเทียบองคประกอบทางเคมีเบื้องตน


               ผลการศึกษา ผลการศึกษาดวยวิธี TLC  ในสารสกัดของโกษฐจุฬาลัมพาและหญาตีนนก  3  ชนิด พบวาสาร
               สกัดของโกษฐจุฬาลัมพาและหญาตีนนกที่สกัดดวย n-hexane  และตรวจสอบดวย  Anisaldehyde-H SO
                                                                                                         4
                                                                                                     2
               สามารถพบปริมาณสารไดเปนจํานวนมากที่สุด คือ 10 – 14 แถบสาร และโกษฐจุฬาลัมพาพบมีคาอัตราการ
               เคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับ (Rate of flow; R Value) ตรงกับหญาตีนนกชนิด M. pentaphylla และ E.
                                                        f
               indica ใกลเคียงกัน โดยมากกวาหญาตีนนกชนิด D. ciliaris โดยตรงกันมากกวารอยละ 50

               ขอสรุป จากผลการศึกษาพบโกษฐจุฬาลัมพาและหญาตีนนก 3 ชนิด มีตําแหนงคา R จากการศึกษาดวยวิธี
                                                                                       f
               TLC  ตรงกันมากกวารอยละ 50  อาจมีความเปนไปไดในการนํามาใชแทนกัน แตควรตองศึกษาเพิ่มเติม

               ทางพฤกษเคมีรวมถึงสารสําคัญที่ออกฤทธิ์และศึกษาฤทธิ์ความเทาเทียมกันทางเภสัชวิทยาตอไป







                                                         145
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152