Page 143 - journal-14-proceeding
P. 143

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    PP60GR0076 การพัฒนาขนมขบเคี้ยวเสริมแคลเซียมจากกากงา



                                                          2
                                            1
                             1
               หทัยชนก ปนดิษฐ , กนกวรรณ สมวงค , วันดี กฤษณพันธ
               1 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
               2
                Phyto Product Research

               หลักการและเหตุผล งาเปนแหลงแคลเซียมที่ดีในธรรมชาติและมักถูกนํามาผสมกับเครื่องดื่มตางๆ เชน นม
               หรือน้ํานมถั่วเหลือง เพื่อเพิ่มปริมาณแคลเซียมใหสูงขึ้น บริเวณกากงามีปริมาณแคลเซียมมากที่สุด มากกวา

               เมล็ดและน้ํามันงาในปริมาณที่เทากัน โดยรางกายสามารถดูดซึมแคลเซียมจากงา (Bioavailability) ไดมากถึง
               65% นอกจากแคลเซียมแลว ยังเปนแหลงสารอาหารมากมาย ทั้งโปรตีน ฟนอล แคโรทีน กรดอะมิโนที่จําเปน
               ตอรางกาย และโดยเฉพาะสารประกอบลิกแนน ที่มีชื่อวา เซซามิน (sesamin) ที่มีรายงานในปจจุบันวามีฤทธิ์
               ตานมะเร็ง ตานอักเสบ ตานอนุมูลอิสระปองกันโรคกระดูกเสื่อม และสงเสริมความจําอีกดวย แตกากงาจํานวน

               มากกลายเปนของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมการบีบน้ํามันงา และมักถูกขายเปนอาหารสัตวซึ่งมีราคาถูก ดังนั้น
               ในงานวิจัยนี้ จึงไดนํากากงามาพัฒนาเปนอาหารเสริมแคลเซียมในรูปแบบขนมขบเคี้ยวเพื่องายตอการ
               รับประทาน และเหมาะสมกับผูบริโภคทุกเพศทุกวัย


               วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากากงาเปนอาหารเสริมแคลเซียมในรูปแบบขนมขบเคี้ยว

               วิธีการดําเนินงาน นํากากงาที่ไดจากการคั่วน้ํามันจากโรงงานน้ํามันงา มาผสมกับช็อคโกแลตหรือเจลาตินและ
               สวนผสมอื่นๆ ในอัตราสวน 20% นน./นน. เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่มีลักษณะทางกายภาพที่ดีและรสชาติที่เปนที่

               นาพอใจ 3 รูปแบบ คือ ช็อคโกแลต กัมมี่รสนมน้ําตาล และกัมมี่รสกลูโคสไซรับ จากนั้นนําไปทดสอบความพึง
               พอใจของผูบริโภคโดยไมคํานึงถึงเพศและอายุ จํานวน 30  คน และวัดปริมาณแคลเซียมดวยเครื่อง Atomic
               absorption spectroscopy (AAS)


               ผลการศึกษา ผูบริโภคสวนใหญชอบผลิตภัณฑช็อคโกแลตมากที่สุด ทั้งดานรสชาติ สี และกลิ่น สวนกัมมี่รส
               น้ําตาลและกลูโคสไซรับ ไดรับความนิยมเทาๆ กัน จากการวัดปริมาณแคลเซียมพบวา ในกากงามีปริมาณ
               แคลเซียมเทากับ 2.1177% นน./นน., และในผลิตภัณฑช็อคโกแลต กัมมี่รสนมน้ําตาล และกัมมี่รสกลูโคสไซ

               รับ มีปริมาณแคลเซียมตอหนึ่งชิ้นเทากับ 9.9829, 9.0663, 9.4517 มิลลิกรัมตามลําดับ ซึ่งมีปริมาณแคลเซียม
               สูงกวาการรับประทานช็อคโกแลตและกัมมี่ที่ไมผสมกากงาเลยถึง 12 และ 5 เทา ตามลําดับ

               ขอสรุป สามารถนํากากงามาพัฒนาเปนขนมขบเคี้ยวเสริมแคลเซียมได ซึ่งรูปแบบช็อคโกแลตนาจะเปน
               รูปแบบที่เหมาะสมที่สุดเพราะผูบริโภคมีความพึงพอใจตอรสชาติและลักษณะทางกายภาพมากที่สุด งานวิจัยนี้

               เปนการพัฒนาเบื้องตน ในการสงเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑจากกากงา อันเปนการเพิ่มมูลคากากงาใหสูงขึ้น
               และยังเปนการสงเสริมใหเกิดการพัฒนาขนมขบเคี้ยวที่มีคุณคาทางโภชนาการมากขึ้นอีกดวย







                                                         141
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148