Page 145 - journal-14-proceeding
P. 145
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PP60G0033 ฤทธิ์ตานออกซิเดชันและฤทธิ์ตานเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัด
จากบัวผันในหลอดทดลอง
1
1
1
1
1
1
รัตติญา บุญใบ , วราพร สระบัว , อริสรา หุตะเจริญ , วิภาสิริ ดอกพุฒ , จันสุพร ไตรชมพูนรินท , สุฑามาศ กาณจนวงศวณิช ,
กรวินทวิชญ บุญพิสุทธินันท 1
1 วิทยาลัยการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
หลักการและเหตุผล ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันไดมีการนําบัวมาใชประโยชนทางดานเภสัชกรรมแผนไทยมา
ยาวนาน บัวผันเปนบัวสายพันธุหนึ่งที่พบไดตามธรรมชาติและถูกพัฒนาสายพันธุนี้ขึ้นในไทย ตามที่
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีไดพัฒนาสายพันธุบัวผัน 3 สายพันธุ ไดแก ฉลองขวัญ ชมพูมะเหมี่ยว
และขาวมงคล ซึ่งสามารถขยายพันธุเพื่อเปนพืชเศรษฐกิจไดเปนอยางดี อยางไรก็ตามยังไมมีรายงานเกี่ยวกับ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของบัวสายพันธุเหลานี้มากอน ทางคณะผูวิจัยจึงจัดทําโครงงานวิจัยหาฤทธิ์ตาน
ออกซิเดชันและฤทธิ์ตานเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัดจากบัวผัน เพื่อประเมินตัวประสิทธิภาพในการใชเปน
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในเครื่องสําอาง เนื่องจากฤทธิ์ตานออกซิเดชันจะชวยยับยั้งหรือชะลอการเกิดปฏิกิริยา
ออกซิเดชันซึ่งเปนสาเหตุของการเกิดอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ตานเอนไซมไทโรซิเนสชวยใหผิวขาวใสและลดการ
สรางเมลานิน
วัตถุประสงค เพื่อศึกษาฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัดจากบัวผันสําหรับ
ประยุกตใชเปนวัตถุดิบทางเครื่องสําอาง
วิธีดําเนินการ ในงานวิจัยนี้เริ่มตนไดทําการเตรียมและสกัดสวนตางๆของบัวผันดวยวิธีการ Maceration กับ
เอทิลแอลกอฮอล และวิธีการดวยวิธีการตมดวยน้ํากลั่น จากนั้นนําสารสกัดที่ไดมาทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูล
อิสระดวยวิธี DPPH (1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl) ฤทธิ์ยับยั้งการเกิดเปอรออกซิเดชันของไขมันดวยวิธี
Ferric Thiocyanate และฤทธิ์ตานเอนไซมไทโรซิเนสดวยวิธี Modified dopachrome จากนั้นนํามาคํานวณ
คารอยละของการตานมูลอิสระและการยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนส
ผลการศึกษา จากการศึกษาพบวา สารสกัดทั้งหมดมีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ (SC ) โดยสารสกัดเอทานอลจาก
50
ใบและเหงาของบัวสายพันธุชมพูมะเหมี่ยว สารสกัดเอทานอลจากเหงาของบัวสายพันธุฉลองขวัญ สารสกัดน้ํา
จากใบฉลองขวัญ และสารสกัดน้ําจากใบและเหงาของบัวสายพันธุบัวชมพูมะเหมี่ยวใหฤทธิ์ดีที่สุดซึ่งมากกวา
วิตามินซีประมาณ 4 เทา (p < 0.05) และยังมีฤทธิ์ยับยั้งการเกิดเปอรออกซิเดชันของไขมัน (LC ) โดยสาร
50
สกัดน้ําจากเกสรชมพูมะเหมี่ยวมีฤทธิ์ดีที่สุดซึ่งมากกวาวิตามินอีประมาณ 33 เทา (p < 0.05) จากการทดสอบ
ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนส (IC ) พบวาสารสกัดเอทานอลจากเหงาขาวมงคล ฉลองขวัญ และชมพูมะเหมี่ยว
50
มีฤทธิ์ดีที่สุดแตนอยกวากรดโคจิกประมาณ 5 เทา (p < 0.05) และนําสารสกัดจากบัวผันที่ไดมาพัฒนาเปน
ผลิตภัณฑเครื่องสําอาง
ขอสรุป จากการศึกษาพบวาสารสกัดจากบัวผันมีฤทธิ์ตานออกซิเดชันและฤทธิ์ตานเอนไซมไทโรซิเนส ซึ่งมี
ศักยภาพที่จะสามารถนําไปพัฒนาในทางอาหารและเครื่องสําอางได ทั้งนี้ยังเปนการอนุรักษบัวสายพันธุบัวผัน
และเปนการเพิ่มมูลคาและเพิ่มชองทางรายไดใหกับชาวสวนที่ปลูกบัวสายพันธุบัวผัน
143