Page 138 - journal-14-proceeding
P. 138

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    PP60G0055 สภาวะการคงอยูของภูมิปญญาทองถิ่นดานการรักษาสุขภาพในสี่
                                    ชาติพันธุจังหวัดศรีสะเกษ



                                      2
                           1
               ชลวิทย สิงหกุล ,สิริกัลยา สุขขี
               1                                                        2
                กลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

               หลักการและเหตุผล  ภูมิปญญาทองถิ่นดานการดูแลสุขภาพเชื่อมโยงกับความเชื่อทางศาสนา วัฒนธรรม
               หากภูมิปญญาทองถิ่นถูกละเลยทอดทิ้ง ไมมีการสืบทอด อาจสงผลตอการสูญหายของภูมิปญญาอันทรงคุณคา

               จึงไดศึกษาสภาวะการคงอยูของภูมิปญญาทองถิ่นดานการรักษาสุขภาพในสี่ชาติพันธุ จังหวัดศรีสะเกษ

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาบริบทเรื่องสุขภาพความเจ็บปวยในชุมชนและภูมิปญญาทองถิ่น และศึกษาสภาวะการ

               ใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่นดานการดูแลสุขภาพ ในสี่กลุมชาติพันธุ จังหวัดศรีสะเกษ

               วิธีดําเนินการ ศึกษาจากขอมูลปฐมภูมิจากการประเมินเพื่อออกหนังสือรับรองหมอพื้นบาน ตามระเบียบ
               กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก วาดวยการออกหนังสือรับรองหมอพื้นบาน พ.ศ.๒๕๕๔
               ที่รับรองโดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ จํานวน ๒๓๓ คน ในชวงเดือน มกราคม–เมษายน  ๒๕๕๗
               แลวใชแบบสัมภาษณรายบุคคล  การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา นําเสนอดวยการแจกแจงความถี่

               รอยละ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะหเนื้อหาโดยการจัดหมวดหมู อธิบายและวิเคราะหเนื้อหา

               ผลการศึกษา พบวา มีหมอพื้นบานผานการประเมินรับรอง จํานวน ๒๓๓ คน หมอพื้นบานสวนใหญเปนชาติ

               พันธุลาว รอยละ ๖๐ รองลงมาชาติพันธุเขมร รอยละ ๒๒.๓ ชาติพันธุกุย รอยละ ๑๕.๕ และชาติพันธุเยอ
               รอยละ ๒.๑ สวนใหญ  เปนเพศชาย รอยละ ๘๒.๔ มีอายุในชวง ๖๐-๗๙ ป มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา
               ชั้นปที่ ๔ และอาชีพเกษตรกรรม สถานะของหมอพื้นบาน เปนหมอยามากที่สุด รอยละ ๖๓.๐๙ รองลงมาเปน

               หมอไสยศาสตร รอยละ ๗.๓ และหมอนวด รอยละ ๕.๑๕ ตามลําดับ  ในกระบวนการรักษามีการยกครู เชน
               ขันธ ๕ ขันธ ๘ ผาขาวแพรวา และคาคาย ๑๒ บาท หรือ ๒๔ บาท โดยในระหวางการรักษาจะมีขอหามหรือ
               ขอปฏิบัติในการรักษา สวนใหญจะมีการติดตามประเมินผลการรักษาตอเนื่อง การวินิจฉัยอาการดวยการใชมือ
               คลํา สังเกตลักษณะดวงตา สีผิว ฝามือ หรือเสี่ยงทาย เมื่อทําการรักษาแลว จะไมเรียกรองคาสมนาคุณ มีเพียง
               คาครูตามขอกําหนดของภูมิปญญาเทานั้น ในการถายทอดความรูหมอ สวนใหญพรอมจะเปดเผยความรูและ

               ถายทอดใหลูกหลานที่มีความใกลชิด โดยไมเก็บคาคาถายทอดภูมิปญญา ประชาชนสวนใหญเลือกใช
               การแพทยแผนปจจุบันกอน และเลือกหมอพื้นบานเปนทางเลือก มีระดับการใชประโยชนจากภูมิปญญา
               ทองถิ่นดานการดูแลสุขภาพในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๗๙ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๙๖  ซึ่งมีเหตุผล

               เนื่องจากยังมีความมั่นใจ ความสะดวก ขั้นตอนไมยุงยาก และยังสามารถใชกับสัตวในชุมชนไดอีกดวย
               ประเภทการรักษา ไดแก ๑) การใชยาสมุนไรในการรักษาโรค ในรูปแบบการตม ฝนรับประทาน ๒) การใชไสย
               ศาสตร หรือรวมกับยาสมุนไพรในการรักษาอาหารเจ็บปวย ๓) หมอนวดจับเสน เพื่อบรรเทาอาการปวด
               บางครั้งใชกับน้ํามันรวมดวย

               ขอสรุป ประชาชนในแตละชาติพันธุมีแนวคิดในการดูแลสุขภาพไมแตกตางกัน มีการปรับตัวในการยอมรับ
               การแพทยแผนปจจุบันมากขึ้น แตไมปฏิเสธรูปแบบการรักษาดวยภูมิปญญาทองถิ่น สวนใหญยังมีการใช

               ประโยชนสอดคลองกับวิถีชีวิตวัฒนธรรมของคนแตละชาติพันธุ ขอเสนอแนะ ควรมีการสงเสริมใหหมอ
               พื้นบานมีบทบาทชัดเจนเพิ่มชองทางการถายทอดความรูใหผูที่สนใจเพื่อรักษาภูมิปญญาทองถิ่นไวอยางยั่งยืน

                                                         136
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143