Page 137 - journal-14-proceeding
P. 137

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    PP60G0045 การปริวรรตและการศึกษาวิเคราะหหนังสือบุดดําภาคใตในรูปแบบ
                                    ตํารายาและคาถา ฉบับหอสมุดแหงชาตินครศรีธรรมราช


                                                           2
                                                                                           4
                          1
                                                                             3
                                            2
               ชัยวัฒน สีแกว , ฉวีวรรณ คลองศิริเวช , ถนอมจิต สุภาวิตา , ประทักษวัล สุขสําราญ , จีรังกานต ปกเข็ม
               1                     2                              3
                หอสมุดแหงชาตินครศรีธรรมราช,  สํานักวิชาเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ,  สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
               4 โครงการอุทยานพฤกษศาสตร  มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

               หลักการและเหตุผล  องคความรูดานการแพทยแผนไทยมีการใชและสืบทอดมายาวนานจากรุนสูรุน องค
               ความรูบางสวนบรรพบุรุษไดจดบันทึกและจารึกไวในรูปแบบเอกสารโบราณ เชน คัมภีรใบลานและหนังสือบุด
               ซึ่งในปจจุบันเอกสารโบราณบางสวนอยูในสภาพชํารุดและถูกทําลายไปบางตามความรูเทาไมถึงการณ หอสมุด
               แหงชาตินครศรีธรรมราช เปนหนึ่งในหนวยงานที่เล็งเห็นความสําคัญและคุณคาของเอกสารโบราณดังกลาว จึง
               มีการจัดเก็บเอกสารโบราณดังกลาวอยางเปนระบบเพื่อเปนแหลงขอมูลความรูในหลากหลายสาขา เชน

               ประวัติศาสตร ภาษาศาสตร ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมถึงสาขาเวชศาสตร โดยเฉพาะตํารายาไทยแผน
               โบราณ โดยเอกสารโบราณสวนใหญที่จัดเก็บไว ณ หอสมุดแหงชาตินครศรีธรรมราช นั้น เปนเอกสารโบราณที่
               มีการบันทึกดวยภาษาโบราณเฉพาะพื้นถิ่นภาคใต ซึ่งทําใหบุคคลทั่วไปโดยเฉพาะบุคคลที่มิใชคนในพื้นถิ่น
               ภาคใตไมสามารถเขาใจเนื้อหาที่จดบันทึกไวอยางถองแทและถูกตองทั้งหมด จากเหตุผลดังกลาวจึงเปนที่มา
               ของการทํางานวิจัยชิ้นนี้ เพื่อเปนการธํารงรักษาคุณคาและเอกลักษณมรดกทางวัฒนธรรมทองถิ่น มิใหสูญหาย

               โดยเฉพาะองคความรูดานการแพทยแผนไทยและภูมิปญญาไทยที่เกี่ยวของกับการใชพืชสมุนไพรในการรักษา
               อาการและโรคตาง ๆ


               วัตถุประสงค  เพื่อปริวรรตอักษรไทยโบราณภาคใต ประเภทหนังสือบุดดํา ใหเปนภาษาไทยปจจุบัน เพื่อการ
               สืบสานองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่นใหคงอยูและสืบทอดตอไป และเพื่อเปนแหลงขอมูลดานตํารายาไทย
               โบราณใหกับนักวิจัยรุนใหมในการสืบคนขอมูลเพื่อการศึกษาวิจัยตอยอดองคความรูดานสมุนไพรไทย

               วิธีดําเนินการ  งานวิจัยนี้เปนงานวิจัยเชิงพรรณนา โดยการคัดเลือกเอกสารโบราณประเภทหนังสือบุดดํา

               (ฉบับหอสมุดแหงชาตินครศรีธรรมราช) เรื่องคาถาและตํารายา โดยมีคณะผูรวมวิจัยเปนผูทรงคุณวุฒิและ
               ผูเชี่ยวชาญดานภาษาไทยโบราณ รวมปริวรรตและศึกษาวิเคราะห

               ผลการศึกษา สามารถจําแนกเนื้อหา ออกเปน 3 รูปแบบ คือ 1) คาถา จํานวน 30 บท  2) ตํารายา จํานวนไม

               นอยกวา 40 ตํารับ (แบงเปน 16 กลุมอาการ) และ 3) ยันต จํานวน 8 ชนิด

               ขอสรุป ผลลัพธ คือ หนังสือชื่อ “การปริวรรตและศึกษาวิเคราะห เอกสารโบราณภาคใต ประเภทหนังสือบุด
               ดํา (ฉบับหอสมุดแหงชาตินครศรีธรรมราช) คาถาและตํารายา” จํานวน 1  เลม เพื่อการเผยแพรองคความรู

               และภูมิปญญาไทย และเนื้อหาในหนังสือดังกลาวเปนสวนหนึ่งของแรงกระตุนและแรงบันดาลใจใหคนรุนหลัง
               ตระหนักและหันมาสนใจในการอนุรักษและสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นรวมกัน เพื่อการธํารงไวซึ่งมรดกทาง
               วัฒนธรรมและสืบสานเอกลักษณของความเปนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งภูมิปญญาอันล้ําคาดานการแพทยแผน

               ไทยและสมุนไพรไทย



                                                         135
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142