Page 136 - journal-14-proceeding
P. 136

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                    PP60G0009  ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการรวมกับการนวดกดจุดสะทอน

                                    ฝาเทาตอการฟนตัวดานการทําหนาที่ของลําไสในผูปวยภายหลังผาตัดลําไสใหญ

                                    และลําไสตรงแบบเปดชองทอง

                                                               2
                                                2
                               1
               รัชดา อนุวงศศิลปชัย , ปชาณัฏฐ ตันติโกสุม , ประนอม รอดคําดี
               1 หอผูปวย ไอซียูศัลยกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา,  คณะพยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                                                  2

               หลักการและเหตุผล  การผาตัดลําไสใหญและลําไสตรงแบบเปดชองทองทําใหเนื้อเยื่อของลําไสไดรับการ
               บาดเจ็บและสงผลใหเกิดปฏิกิริยาการอักเสบ มีการสูญเสียหนาที่ชั่วคราวของการเคลื่อนไหวของลําไส ทําให
               เกิดอาการแนนอึดอัดทอง ไมผายลม ไมถายอุจจาระ อัตราการเคลื่อนไหวของลําไสลดลง และคลื่นไส อาเจียน
               นอกจากนี้ทําใหเพิ่มคารักษาพยาบาลและเพิ่มระยะเวลานอนโรงพยาบาลนานขึ้น การจัดโปรแกรมการ
               เคลื่อนไหวรางกายหลังผาตัดสามารถชวยใหอวัยวะตางๆกลับคืนสูสภาพปกติ รวมกับการนวดกดจุดสะทอนฝา

               เทาชวยใหเลือดมีการไหลเวียนไปเลี้ยงลําไสไดอยางมีประสิทธิภาพและสงผลทางออมทําใหผูปวยรูสึกผอน
               คลาย ลดความวิตกกังวลได

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการรวมกับการนวดกดจุดสะทอนฝาเทาตอการฟน

               ตัวดานการทําหนาที่ของลําไสในผูปวยภายหลังผาตัดลําไสใหญและลําไสตรงแบบเปดชองทอง

               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้ใชแนวคิดการจัดการอาการของ Dodd (2001) และแนวคิดการนวดกดจุดสะทอนฝา

               เทา กลุมตัวอยาง คือ ผูปวยที่มีอายุระหวาง 18-59 ป ไดรับการผาตัดลําไสใหญและลําไสตรงแบบเปดชองทอง
               เขารับการรักษาตัวที่หอผูปวยศัลยกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา แบงเปนกลุมควบคุมและกลุมทดลอง
               กลุมละ 22 คน โดยจับคู อายุ ระดับความเสี่ยงการเกิดภาวะลําไสหยุดทํางานชั่วคราวหลังผาตัด และระดับ
               โพแทสเซียมในเลือดหลังผาตัด กลุมควบคุมไดรับการพยาบาลตามปกติ กลุมทดลองไดรับโปรแกรมการจัดการ
               กับอาการรวมกับการนวดกดจุดสะทอนฝาเทา เครื่องมือที่ใชในการทดลอง คือ โปรแกรมการจัดการกับอาการ

               รวมกับการนวดกดจุดสะทอนฝาเทา ประกอบดวย 3  ขั้นตอน คือ 1)  การประเมินประสบการณการมีอาการ
               ลําไสหยุดทํางานชั่วคราวหลังผาตัด 2) กลวิธีการจัดการอาการลําไสหยุดทํางานชั่วคราวหลังผาตัด และ 3) การ
               ประเมินผลการจัดการอาการลําไสหยุดทํางานชั่วคราวหลังผาตัด และเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

               คือ แบบประเมินการฟนตัวดานการทําหนาที่ของลําไสของ ศิริพรรณ ภมรพล (2556)  ซึ่งทดสอบความเที่ยง
               โดยการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ไดเทากับ 0.75  สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก
               คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบคาที (Independent t-test)


               ผลการศึกษา หลังการทดลอง ผูปวยหลังผาตัดลําไสใหญและลําไสตรงแบบเปดชองทองในกลุมควบคุมและ
               กลุมทดลอง มีคาเฉลี่ยคะแนนการฟนตัวดานการทําหนาที่ของลําไสเทากับ 11.82 (SD 2.04) และ 13.46 (SD
               2.48) ตามลําดับ


               ขอสรุป  การฟนตัวดานการทําหนาที่ของลําไสของผูปวยหลังผาตัดลําไสใหญและลําไสตรงแบบเปดชองทอง
               กลุมที่ไดรับโปรแกรมการจัดการกับอาการรวมกับการนวดกดจุดสะทอนฝาเทา ดีกวากลุมที่ไดรับการพยาบาล
               ตามปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05



                                                         134
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141