Page 157 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 157
640 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
2. วิธีก�รศึกษ�
2.1 การสกัดสาร
น�าผักปลังสดทั้งสองชนิดมาล้างท�าความ
สะอาด หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ หมักด้วยเอทานอลร้อยละ
95 ในอัตราส่วน 1:3 ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 3 วัน จาก
นั้นกรองด้วยกระดาษกรองแล้วน�าไประเหยแห้งด้วย
เครื่องระเหยแบบลดความดัน (rotary evaporator)
ท�าซ�้าอีกสองครั้ง แล้วอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 50˚ซ ให้
ตัวท�าละลายระเหยหมด จากนั้นน�าสารสกัดหยาบ
ของผักปลังทั้งสองมาท�าการสกัดแยกด้วยวิธี parti-
tion extraction ซึ่งสารจะถูกแยกออกเป็นสัดส่วน
(fraction) ตามความสามารถในการละลายหรือ
ความมีขั้วของสารโดยจะใช้ตัวท�าละลายที่มีขั้วต่าง ๆ
เริ่มแรกน�าสารสกัดหยาบมาละลายด้วยเมทานอล
Figure 1 Basella alba L. ร้อยละ 95 จากนั้นใส่ในกรวยแยก (separating
funnel) แล้วเติมตัวท�าละลายลงไปจากขั้วต�่าไป
ขั้วสูงซึ่งตัวท�าละลายที่ใช้ได้แก่ เฮกเซน (hexane)
คลอโรฟอร์ม (chloroform) เอทิลอะซีเตต (ethyl
acetate) บิวทานอล (butanol) และน�้า (deionized
water) จากนั้นน�าสารสกัดที่ได้เก็บที่อุณหภูมิ -20˚ซ
จนกว่าจะน�ามาท�าการทดสอบ
2.2 การทดสอบฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์
(cytotoxic activity)
เซลล์มะเร็งที่ใช้ในการทดสอบมี 6 ชนิด ได้แก่
เซลล์มะเร็งช่องปากชนิด KB (ATCC No. CCL-17)
เซลล์มะเร็งกระเพาะอาหารชนิด KATO III (ATCC
No. HTB-103) เซลล์มะเร็งล�าไส้ใหญ่ชนิด SW480
(ATCC No. CCL-228) และLS 174T (ATCC
No. CL-188) เซลล์มะเร็งตับชนิด Hep G2 (ATCC
No. HB 8065) และเซลล์มะเร็งท่อน�้าดีชนิด KKU-
Figure 2 Basella rubra L. M156 ซึ่งเซลล์ KKU-M156 ได้รับการอนุเคราะห์
จาก ผศ.ดร.ปิติ อึ้งอารีย์วิทยาและศ.ดร.ภก.วีรพล