Page 162 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 162

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  645




            ผสมเอทิลอะซีเตตของสารสกัดหยาบผักปลังขาว     alba) และผักปลังแดง (B. rubra) มีสรรพคุณเป็นยา
            มีค่า IC 50 ต่อเซลล์มะเร็งทุกชนิดดีที่สุด ยกเว้นต่อ  ระบายอ่อน ๆ ป้องกันอาการท้องผูกและรักษาแผล

                                                                       [5-7]
            เซลล์มะเร็งล�าไส้ใหญ่ชนิด SW480 ซึ่ง fraction ชั้น  ในกระเพาะอาหาร  แต่การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ
            คลอโรฟอร์มของสารสกัดหยาบผักปลังแดงมีฤทธิ์ที่  ผักปลังในปัจจุบันนั้นยังมีไม่มากอย่างเช่นการศึกษา
            ดีกว่าแต่ก็ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญโดยมีค่า   ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งในระบบทางเดิน

            IC 50 เท่ากับ 5.21 µg/mL fraction ชั้นคลอโรฟอร์ม  อาหาร ดังนั้นการศึกษานี้จึงศึกษาและเปรียบเทียบ
            ผสมเอทิลอะซีเตตของสารสกัดหยาบผักปลังขาวมี   ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งโรคระบบทางเดิน
            ค่า IC 50 ต่อเซลล์มะเร็ง KB, KATO III, SW480, LS   อาหารจากสารสกัดผักปลังขาวและผักปลังแดง ผล

            174T, KKU-M156 และ Hep G2 เท่ากับ 5.22, 6.04,   การศึกษาฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งโรคระบบ
            5.36, 5.90, 6.00 และ 5.59 µ/mL ตามล�าดับ และ  ทางเดินอาหารของสารสกัดผักปลังขาวและผักปลัง
            เมื่อเทียบกันระหว่างกลุ่มเซลล์ KATO III, SW480   แดง ได้แก่ เซลล์มะเร็งช่องปากชนิด KB, เซลล์มะเร็ง

            และ KKU-M156 พบว่าค่า IC 50 ของ fraction ชั้น  กระเพาะอาหารชนิด KATO III, เซลล์มะเร็งล�าไส้ใหญ่
            คลอโรฟอร์มผสมเอทิลอะซีเตตของสารสกัดหยาบผัก  ชนิด SW480 และ LS 174T เซลล์มะเร็งท่อน�้าดีชนิด

            ปลังขาวไม่แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญจาก fraction ชั้น  KKU-M156 และเซลล์มะเร็งตับชนิด Hep G2 โดย
            คลอโรฟอร์มของสารสกัดหยาบผักปลังแดง และเมื่อ  วิธี SRB assay ครั้งนี้พบว่า สารสกัดหยาบจากผัก
            น�า fraction ที่มีฤทธิ์มาทดสอบกับเซลล์ปกติ HaCaT   ปลังขาวแบบสดที่หมักด้วยเอทานอลร้อยละ 95 มีฤทธิ์

            เพื่อค�านวณหาค่า SI พบว่า fraction ชั้นคลอโรฟอร์ม  ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งในระบบทางเดินอาหารดี
            ของสารสกัดหยาบผักปลังแดงมีค่า SI สูงที่สุดโดยมี  กว่าสารสกัดหยาบจากผักปลังแดงแบบสดที่หมักด้วย

            ค่าต่อเซลล์มะเร็ง KATO III, SW480, LS 174T และ   เอทานอลร้อยละ 95 โดยที่มีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อ
            KKU-M156 เท่ากับ 7.81, 9.30, 2.05 และ 4.22 ตาม  เซลล์มะเร็ง KB, KATO III, SW480 และ KKU-M156
            ล�าดับ ในขณะที่ fraction ชั้นคลอโรฟอร์มและชั้น  ในระดับปานกลางตามข้อก�าหนดของ NCI ที่กล่าวว่า

            น�้าของสารสกัดหยาบผักปลังขาวและ fraction ชั้น  สารสกัดที่ออกฤทธิ์ดีต้องมีค่า IC 50 น้อยกว่า 30 µg/
            เอทิลอะซีเตต ชั้นบิวทานอลและชั้นน�้าของสารสกัด  mL และสารสกัดที่ออกฤทธิ์ปานกลางต้องมีค่า IC 50
                                                                        [27]
            หยาบผักปลังแดงที่ความเข้มข้นสูงสุด 100 µg/mL   น้อยกว่า 50 µg/mL  การศึกษาฤทธิ์ความเป็นพิษ
            ไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งโรค  ต่อเซลล์มะเร็งในครั้งนี้เป็นทดสอบกับเซลล์มะเร็งช่อง
            ระบบทางเดินอาหารทุกชนิดได้                  ปากชนิด KB, เซลล์มะเร็งกระเพาะอาหารชนิด KATO
                                                        III, เซลล์มะเร็งล�าไส้ใหญ่ชนิด SW480 และ LS 174T
                           อภิปร�ยผล                    และเซลล์มะเร็งท่อน�้าดีชนิด KKU-M156 เป็นครั้งแรก

                 ผักปลัง เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่พบได้ทั่วไป  ในขณะที่เซลล์มะเร็งตับชนิด Hep G2 เคยมีการศึกษา

            ใช้เป็นยาสมุนไพรและรับประทานเป็นอาหาร ใน    ของ Kumar et al. (2018) มาก่อนซึ่งพบว่าสารสกัดชั้น
            ประเทศไทยพบได้สองชนิด คือ ผักปลังขาว (B.    น�้าของผักปลังขาวมีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์ดีกว่า
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167