Page 156 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 156

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  639




            ประทานเป็นอาหารและใช้เป็นยาสมุนไพร มีสรรพคุณ  อักเสบพบว่าสารสกัดจากใบผักปลังขาวชั้นเอทานอล
            เป็นยาระบายอ่อน ๆ ช่วยป้องกันอาการท้องผูก   ร้อยละ 50 สามารถลดอาการบวมของอุ้งเท้าหนูที่

            นอกจากนี้ทั้งล�าต้นมีฤทธิ์เย็นช่วยขับพิษร้อน ลด  ถูกเหนี่ยวให้เกิดการอักเสบด้วย carrageenan ได้
                                                                     [23]
            ไข้ แก้ร้อนใน แก้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ภายนอก  อย่างมีนัยส�าคัญ  นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์สมานแผล [24]
                                                                            [22]
            ร่างกายใช้รักษาแผลสด แผลไฟไหม้น�้าร้อนลวกและ  และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
                              [5-7]
            รักษาโรคผิวหนังอักเสบ  ผักปลังประกอบด้วยสาร      จากการทบทวนวรรณกรรมผักปลังขาวและ
            ส�าคัญหลายชนิดเช่น ฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ แคโรที  ผักปลังแดงมีฤทธิ์เป็นยาระบาย ช่วยบรรเทาอาการ
            นอยด์ ซาโปนินและอัลคาลอยด์ รวมถึงสารจ�าพวก  ท้องผูกและยังมีงานวิจัยที่พบว่าผักปลังขาวสามารถ

            ไฟเบอร์ วิตามิน เกลือแร่และกรดอะมิโนที่จ�าเป็น [8-11]  ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารได้ ซึ่งคุณ
            ซึ่งมีหลายงานวิจัยระบุว่าสารกลุ่มนี้มีความสอดคล้อง  ประโยชน์ดังกล่าวอาจลดปัจจัยหนึ่งที่จะน�าไปสู่การ
            กับฤทธิ์ต้านมะเร็ง ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้าน  เกิดโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหาร ส่วนผักปลัง

            การอักเสบ [8,12-18]  การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของผัก  แดงยังไม่พบงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ผักปลังทั้งสอง
            ปลังที่เคยมีการรายงานก่อนหน้านี้พบว่า สารสกัด  ยังไม่พบการศึกษาฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง

            จากใบผักปลังขาวสามารถป้องกันการเกิดแผลใน    ในระบบทางเดินอาหาร
            กระเพาะอาหารของหนูได้โดยป้องกันการบาดเจ็บ        การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและ
            ของเยื่อบุกระเพาะอาหาร  ลดการหลั่งกรดและปลด  เปรียบเทียบฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งในระบบ
                               [6]
            ปล่อยสารต้านอนุมูลอิสระเพื่อช่วยป้องกันการเกิด   ทางเดินอาหาร ได้แก่ มะเร็งช่องปาก มะเร็งกระเพาะ
            oxidative stress ในกระเพาะอาหาร [7,19]  สารสกัด  อาหาร มะเร็งล�าไส้ใหญ่ มะเร็งตับและมะเร็งท่อน�้าดี

            ผักปลังขาวมีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งผิวหนัง  ของสารสกัดผักปลังขาวและผักปลังแดง
            ชนิด A431 โดยมีค่า IC 50 เท่ากับ 3.66 mg/mL ต�่า
            กว่าสารสกัดจากผักปลังแดงถึงสองเท่า ในขณะที่             ระเบียบวิธีศึกษ�

            ค่า IC 50 ต่อเซลล์มะเร็งตับชนิด Hep G2 และเซลล์
            มะเร็งกระดูกชนิด MG63 ของผักปลังทั้งสองมีค่า  1. วัสดุ
                                      [20]
            ใกล้เคียงกันประมาณ 7 mg/mL  นอกจากนี้สาร         ผักปลังขาว (B. alba) และผักปลังแดง (B.
            สกัดชั้นเมทานอลของผักปลังขาวมีความเป็นพิษ   rubra) สดทั้งต้น (Figure 1, Figure 2) ถูกเก็บจาก
            ต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด U937 โดยมีค่า   จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและได้ถูกน�าไปตรวจสอบ
                                  [21]
            IC 50 เท่ากับ 24.54 µg/mL  และการศึกษาในหนู  ชื่อวิทยาศาสตร์และขอหมายเลขอ้างอิงของตัวอย่าง
            พบว่าสารสกัดชั้นน�้าจากใบและเมล็ดผักปลังขาวยัง  พรรณไม้อ้างอิงงานวิจัย (voucher specimen) จาก
            สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งชนิด   พิพิธภัณฑ์สมุนไพร กรมการแพทย์แผนไทยและการ

            Ehrlich ascites carcinoma โดยเหนี่ยวน�าให้เกิด  แพทย์ทางเลือกโดยหมายเลขอ้างอิง ได้แก่ TTM No.
            การตายแบบ apoptosis การศึกษาฤทธิ์ต้านการ    0005451 และ TTM No. 0005452 ตามล�าดับ
                                [22]
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161