Page 155 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 155
638 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
B. alba showed good cytotoxic activity against KB, KATO III, LS 174T, KKU-M156, and HepG2 cell lines ex-
cept the SW480 cell lines, that the chloroform fraction of ethanolic extract of fresh B. rubra had higher activity.
Interestingly, the chloroform fraction of ethanolic extract of fresh B. rubra showed an SI value better than B. rubra.
Discussion: This research aimed to investigate and compare of cytotoxic activity against gastrointestinal
cancer cell lines of B. alba and B. rubra extracts by SRB assay. The results showed that the B. alba crude extract
had more potent cytotoxic activity (SI > 2) against gastrointestinal cancer cells than B. rubra and showed moder-
ate cytotoxic activity against KB, KATO III, SW480 and KKU-M156 cell lines, as established by NCI. Further
extraction found that the chloroform fraction of B. rubra crude extract had potent cytotoxic activity against KATO
III, SW480, KKU-M156, and LS 174T about 3–6 times more than the B. alba crude extract.
Conclusion and Recommendation: The extraction of B. rubra by maceration with 95% ethanol and frac-
tionated with chloroform showed the best potential cytotoxic activity against gastrointestinal cancer cells. These
results provide basic information about the biological activity including cytotoxic activity against gastrointestinal
cancer of Basella species extracts. However, further investigations on chemical markers, in vivo pharmacological
activity testing, and toxicity testing are needed for future development as a product.
Key words: Basella alba L., Basella rubra L., cytotoxic activity, gastrointestinal cancer
บทนำ�และวัตถุประสงค์ กระเพาะอาหารเป็นอันดับ 9 คิดเป็นร้อยละ 10.1, 6.1
[2]
โรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหาร เป็นโรคที่ และ 1.6 ตามล�าดับ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของโรคมะเร็ง
พบได้บ่อยทั้งในประเทศไทยและอีกหลายประเทศ ดังกล่าวเป็นผลมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
[3]
จากสถิติทั่วโลกขององค์การอนามัยโลก (WHO) ใน และการด�าเนินชีวิต การป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
ประเทศไทย พ.ศ. 2563 โรคมะเร็งตับเป็นโรคมะเร็ง จึงถือเป็นสิ่งส�าคัญอย่างมาก เช่น การหลีกเลี่ยงการ
ที่พบได้มากที่สุดเป็นอันดับ 1 โรคมะเร็งล�าไส้ใหญ่ รับประทานอาหารปิ้งย่าง อาหารที่มีไขมันสูง รวมถึง
พบมากเป็นอันดับ 4 ส่วนมะเร็งกระเพาะอาหารและ การเลือกรับประทานอาหารที่มีไฟเบอร์สูงก็เป็นส่วน
[1]
มะเร็งท่อน�้าดีแม้อุบัติการณ์เกิดโรคไม่สูงมากแต่อัตรา ช่วยในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็งในระบบทางเดิน
[4]
การเกิดโรคยังคงสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในทุกปี ซึ่งใกล้เคียง อาหาร โดยเฉพาะโรคมะเร็งล�าไส้ใหญ่
กับข้อมูลทางสถิติ 10 อันดับโรคมะเร็งที่พบบ่อยใน ผักปลังเป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรที่มีไฟเบอร์สูง
ประเทศไทยของสถาบันมะเร็งแห่งชาติในประเทศไทย พบได้ทั่วไปในประเทศแถบเอเชีย ในประเทศไทยพบ
พ.ศ. 2563 พบว่า ในเพศชายมีอัตราการเกิดโรคมะเร็ง ได้สองชนิดคือ ผักปลังขาว (Basella alba L.) (ล�าต้น
ตับและท่อน�้าดีมากเป็นอันดับ 1 โรคมะเร็งล�าไส้ใหญ่ อวบน�้าเรียวเรียบสีเขียว ใบเดี่ยวเรียงสลับเป็นรูป
เป็นอันดับ 2 และมะเร็งกระเพาะอาหารเป็นอันดับ 8 หัวใจ) และผักปลังแดง (Basella rubra L.) (ล�าต้น
ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20.5, 19 และ 2.6 ตามล�าดับ ส่วน อวบน�้าเรียวเรียบสีแดงเข้ม ใบเดี่ยวเรียงสลับเป็น
ในเพศหญิงโรคมะเร็งล�าไส้ใหญ่พบมากเป็นอันดับ 3 รูปหัวใจ) ผักปลังทั้งสองเป็นพืชล้มลุกจัดอยู่ในวงศ์
[5]
โรคมะเร็งตับและท่อน�้าดีเป็นอันดับ 5 และโรคมะเร็ง BASELLACEAE คนส่วนใหญ่นิยมน�ามารับ