Page 238 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 238
454 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
(จอผักกาด) เป็นต้น โดยต�ารับอาหารพื้นบ้านเหล่านี้ นั้นมักจะมีต�ารับอาหารไม่มากโดยมักจะมีน�้าพริกและ
มักจะมีรสอ่อน ๆ และวัตถุดิบที่ใช้ปรุงจะเปื่อยยุ่ยเพื่อ แกงเป็นพื้น อาหารกลางวัน (ข้าวตอน) มักจะไม่ปรุง
ให้เคี้ยวได้สะดวกเมื่อรับประทาน ต�ารับอาหารใหม่จะรับประทานอาหารที่เหลือจากมื้อ
การจัดส�ารับและการเสิร์ฟ ผู้สูงอายุรับประทาน เช้า ส่วนอาหารเย็น (ข้าวแลง) มักจะเป็นต�ารับอาหาร
ต�ารับอาหารที่ใช้ผักป่าตามฤดูกาลเป็นวัตถุดิบหลัก ที่มีรสจัดและเพิ่มจ�านวนต�ารับอาหารเพิ่มขึ้น ทั้งนี้มื้อ
ร้อยละ 54.6 และไม่รับประทานต�ารับอาหารที่ปรุงไม่ อาหารเย็นจะมีลูกหลานที่กลับจากการท�างานมาร่วม
สุก ร้อยละ 35.3 โดยวิถีการบริโภคอาหารของผู้สูง รับประทานด้วย การจัดส�ารับอาหารพื้นบ้านส�าหรับผู้
อายุยังคงแบ่งมื้ออาหารในแต่ละวันได้เป็น 3 มื้อ คือ สูงอายุ (Figure 1)
อาหารมื้อเช้า (ข้าวงายหรือข้าวเช้า) ส�ารับในตอนเช้า
Figure 1 Meal for elderly
ระดับวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้าน พบว่า ผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุมีการจัดเตรียมวัตถุดิบระดับมาก (ค่า
ชอบอาหารรสเปรี้ยว ร้อยละ 59.30 อาหารรสหวาน เฉลี่ยเท่ากับ 3.96 ± 0.72) การปรุงระดับน้อย (ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ 61.40 อาหารรสมัน ร้อยละ 52.90 และอาหาร เท่ากับ 1.91 ± 0.89) และการจัดส�ารับอาหารระดับมาก
รสเค็ม ร้อยละ 43.4 เมื่อวิเคราะห์วัฒนธรรมอาหาร (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 ± 0.75) (Table 1)
Table 1 Traditional food culture of elderly
Traditional food culture Mean ± S.D. Level
Ingredient resources 3.96 ± 0.72 high
Cooking process 1.91 ± 0.89 low
Traditional food set menus 4.42 ± 0.75 high
Total 3.46 ± 0.80 modulate