Page 235 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 235

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  451




            และต�ารับอาหารที่ถูกส่งผ่านจากประสบการณ์ และ  อาหารประเภทน�้าพริกและแกงไม่มีกะทิให้พลังงาน
            แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในวิถีชีวิตบนฐาน  ต�่าที่สุด คือ 89 กิโลแคลอรี่ขนมจีนน�้ายาและน�้าพริก

            สัญชาตญาณแห่งการอยู่รอด ท�าให้ผู้คนรู้จักการ  ห่อหมกปลาช่อนใบยอ และน�้าพริกให้ใยอาหาร ธาตุ
            เรียนรู้และปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง  เหล็ก และวิตามินเอสูง ดังนั้นต�ารับอาหารพื้นบ้าน
            ที่เกิดขึ้นทั้งด้านสภาพแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม   เหล่านี้น่าจะมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ

                                                                     [7]
            และเศรษฐกิจ ซึ่งการเรียนรู้ดังกล่าวเป็นจุดก�าเนิด  เรื้อรังในผู้สูงอายุ  ในส่วนของต�ารับอาหารพื้นบ้านใน
            ของกระบวนการและแบบแผนในการแก้ไขปัญหา        ภาคเหนือจะใช้ผักพื้นบ้านเป็นวัตถุดิบหลักในการปรุง
            เพื่อท�าให้ตนเองและครอบครัวอยู่รอดได้อย่างมีสุข  ต�ารับอาหาร ผักเหล่านี้สามารถเก็บหาได้ในชุมชนและ

                   [4]
            ภาวะที่ดี  การประยุกต์ใช้อาหารพื้นบ้านเพื่อการเสริม  ตามป่าธรรมชาติ โดยการบริโภคผักพื้นบ้านมากมาย
            สร้างสุขภาพผู้สูงอายุจึงเป็นทางเลือกที่สอดคล้อง  หลายชนิดในการสร้างเสริมสุขภาพ และมีการบริโภค
            กับวิถีการบริโภคที่หลากหลายทางด้านชาติพันธุ์และ  ผักพื้นบ้านในการรักษาโรคเบื้องต้น ซึ่งผักเหล่านี้

            วัฒนธรรม รวมถึงองค์ความรู้ในการประกอบอาหาร   มีทั้งผักที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ และผักที่ปลูกขึ้นมา
            ซึ่งมีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน เกิดการคิดค้น   มีการน�ามาบริโภคหลากหลายเพื่อประโยชน์ด้าน

            สืบทอด ปรุงแต่ง และผสมผสานเป็นอาหาร มีรายงาน  สุขภาพ การเลือกผักมารับประทานนั้นล้วนแล้วแต่
            การศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีการบริโภคอาหารพื้นบ้าน  ผ่านการพิจารณาและถ่ายทอดกันมาว่าการบริโภค
            รวมเฉลี่ยระดับปานกลาง โดยมีปัจจัยอายุและความ  ผักพื้นบ้านเป็นการส่งเสริมสุขภาพท�าให้สุขภาพดี

            รู้เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้านล้านนามีความสัมพันธ์กับ  ห่างไกลจากความเจ็บป่วย  อย่างไรก็ตามด้วยการ
                                                                            [8]
            การบริโภคอาหารพื้นบ้านอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ   เปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสังคมในปัจจุบันส่งผล

            โดยผู้สูงอายุเรียนรู้และสืบทอดความรู้ด้านอาหาร  ให้ผู้คนหลงใหลอยู่กับกระแสของเทคโนโลยี ท�าให้
            พื้นบ้านจากบรรพบุรุษ การศึกษาด้วยตนเอง และ  องค์ความรู้ด้านอาหารพื้นบ้านที่บรรพบุรุษสั่งสมมา
                              [5]
            การแนะน�าจากคนอื่น  ยังมีรายงานการศึกษาพบ   ถูกลดความส�าคัญลงเมื่อเทียบกับองค์ความรู้ด้าน
            ว่าผู้สูงอายุนิยมรับประทานอาหารท้องถิ่น (ร้อยละ   อาหารสมัยใหม่ รวมถึงมุมมองด้านสุขภาพที่ยังให้
            78.31) โดยต�ารับอาหารที่ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพร่างกาย  ความส�าคัญต่อระบบการแพทย์สมัยใหม่มากกว่า
            แข็งแรงดีนิยมบริโภคประจ�า แบ่งได้เป็น 7 ประเภท   ภูมิปัญญาด้านสุขภาพ ซึ่งมีรายงานการศึกษา พบว่า

            ได้แก่ อาหารประเภทแกง อาหารประเภทลาบและ     ผู้สูงอายุบางส่วนเมื่ออายุเพิ่มขึ้นจะเกิดปัญหาภาวะ
            ก้อย อาหารประเภทหมกและอั่ว อาหารประเภทนึ่ง  สุขภาพที่ต้องใช้เวลาในการรักษาต่อเนื่อง บุตรหลาน
                                               [6]
            ลวก อาหารประเภทปิ้งย่าง อาหารประเภทซุป  ส่วน  จึงแสวงหาแนวทางในการรักษาจากสถานบริการ
            คุณค่าทางโภชนาการในอาหารพื้นบ้านมีรายงานการ  สุขภาพแผนปัจจุบันมากกว่าการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
                                                             [9]
            ศึกษา พบว่า คุณค่าสารอาหารจากรายการที่พัฒนา  ล้านนา  เช่นเดียวกับผู้สูงอายุในชุมชนเวียงท่ากาน
            จากต�ารับอาหารพื้นบ้านประเภทอาหารจานเดียวให้  - ยุหว่าที่มีจ�านวนผู้สูงอายุร้อยละ 30 ของประชากร
            พลังงานเฉลี่ยสูงที่สุดต่อ 1 มื้อ คือ 319 กิโลแคลอรี่   ทั้งหมด ทั้งนี้ผู้สูงอายุป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240