Page 239 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 239

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  455




                 ทั้งนี้มีปัจจัยที่อาจส่งผลต่อวัฒนธรรมอาหาร  พื้นบ้านทั้งลักษณะและวิธีการบริโภค อย่างไรก็ตาม
            ในผู้สูงอายุทั้งการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของชุมชน  กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาจยังต้องใช้ระยะเวลา

            ทั้งด้านกายภาพที่ชุมชนเขตเมืองได้ขยายเข้าสู่ชุมชน  ในการสร้างองค์ความรู้และทักษะให้กับผู้เกี่ยวข้อง ซึ่ง
            ชนบทมากขึ้น รวมถึงการเข้าถึงที่สะดวกรวดเร็วของ   การเข้ามาท�างานวิจัยหรือการบริการวิชาการของนัก
            การส่งอาหารจากผู้ประกอบอาหารจ�าหน่ายผ่านไรเดอร์   วิชาการจากสถาบันการศึกษาจะมีส่วนส�าคัญในการ

            ที่มีจ�านวนเพิ่มขึ้น และการเข้ามาท�างานของบุตรหลาน  ผลักดันกระบวนการดังกล่าวได้
            ในเขตเมืองที่น�าวัฒนธรรมอาหารแบบไทยภาคกลาง       3.3  การส่งเสริมการบริโภคในผู้สูงอายุ  ถึงแม้
            อาหารอีสาน และอาหารจากประเทศตะวันตกเข้ามา   ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังคงให้ความส�าคัญต่อคุณค่าและ

            ในชุมชน                                     วิถีการบริโภคอาหารพื้นบ้าน แต่ด้วยปัจจัยที่อาหาร
                                                        พื้นบ้านก�าลังเผชิญทั้งวัตถุดิบที่มีราคาสูงและบางช่วง
            3. ก�รสังเคร�ะห์แนวท�งก�รนำ�อ�ห�รพื้นบ้�น   หายาก การขาดการสืบทอดจากคนรุ่นใหม่ และอื่น ๆ
               สู่ก�รสร้�งเสริมสุขภ�พผู้สูงอ�ยุได้แนวท�ง   ดังนั้นกระบวนการส่งเสริมการบริโภคอาหารพื้นบ้าน
               ดังนี้                                   ในผู้สูงอายุจึงมีความจ�าเป็นที่ชุมชนและหน่วยงานที่


                 3.1 การสร้างและพัฒนาแหล่งผลิตวัตถุดิบ   เกี่ยวข้องต้องให้ควาส�าคัญ ทั้งนี้กลุ่มผู้สูงอายุและผู้
            จากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในชุมชนส่งผลให้   ดูแลได้เสนอแนะให้เริ่มต้นจากฐานครอบครัวโดยให้
            พื้นที่ผลิตวัตถุดิบโดยเฉพาะผักพื้นบ้านลดลง ถึงแม้  สมาชิกในครอบครัวให้ความส�าคัญต่อการจัดส�ารับ

            จะมีการปลูกทั่วไปในครัวเรือน แต่ปริมาณที่ผลิตได้  อาหารในแต่ละมื้อส�าหรับผู้สูงอายุที่ต้องมีต�ารับอาหาร
            มีจ�านวนน้อย บางช่วงฤดูผลผลิตไม่เพียงพอต่อการ  พื้นบ้านอย่างน้อย 1 ต�ารับอยู่ในส�ารับ รวมถึงเมื่อผู้สูง

            บริโภค การปรับพื้นที่สาธารณะในชุมชนที่ยังคงไม่มี  อายุปรุงอาหารเพื่อรับประทานสมาชิกในครอบครัว
            การใช้ประโยชน์มาเป็นแหล่งผลิตผักพื้นบ้านที่ผู้สูง  ควรให้ความส�าคัญถึงแม้รสชาติอาจจะไม่ถูกปาก
            อายุนิยมรับประทานและไม่ต้องการการดูแลมากนัก   มากนัก

            เช่น ขี้เหล็ก ดอกแคป่า มะรุม เป็นต้น นอกจากจะใช้     การผลักดันแนวทางสู่การปฏิบัติอาจต้องให้
            เป็นอาหารแล้ว ยังได้ร่มเงา ซึ่งอาจจะพัฒนาพื้นที่เหล่า  ความส�าคัญกับความหลากหลายของต�ารับอาหาร โดย
            นั้นเป็นแหล่งนันทนาการได้ต่อไป              เฉพาะต�ารับอาหารที่มีเครื่องเคียงทั้งที่เป็นผักพื้นบ้าน

                 3.2  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากความหลาก     หลากชนิดซึ่งมีสรรพคุณเป็นสมุนไพรพื้นบ้าน
            หลายของต�ารับอาหารพื้นบ้านในชุมชน การพัฒนา
            ผลิตภัณฑ์จ�าเป็นต้องมีกระบวนการคัดสรรต�ารับ               อภิปร�ยผล

            อาหารเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ      วัฒนธรรมอาหารของผู้สูงอายุทั้งการจัดเตรียม
            ทั้งนี้กลุ่มผู้สูงอายุได้สะท้อนมิติความปลอดภัยของ  วัตถุดิบ การปรุง และการจัดส�ารับและการเสิร์ฟ

            วัตถุดิบที่ไม่มีการใช้สารเคมีการเกษตร การลดเครื่อง  ได้สะท้อนการเรียนรู้จากคนรุ่นก่อนสู่การพัฒนา
            ปรุงสังเคราะห์ และการปรุงต�ารับอาหารที่สงวนคุณค่า   ต�ารับอาหารพื้นบ้านภายใต้การเปลี่ยนแปลงทั้งด้าน
            รวมถึงผลิตภัณฑ์ต้องสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์  กายภาพและสังคมของชุมชน แต่ด้วยในชุมชนฐาน
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244