Page 240 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 240

456 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           ทรัพยากรที่เป็นแหล่งผลิตอาหารยังคงสนองตอบ   การใช้ต�ารับอาหารพื้นบ้านเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงออก
           ความต้องการของผู้สูงอายุได้ระดับหนึ่ง ทั้งนี้การ  ถึงความเคารพต่อสิ่งเหนือธรรมชาตินั้น ดังนั้นการ

           ปรุงต�ารับอาหารที่มีระดับน้อยอาจจะเป็นไปได้ว่าผู้สูง  ประกอบพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหนือธรรมชาติทั้ง
           อายุอาจจะไม่สามารถปรุงต�ารับอาหารตามแบบแผน  ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนจะมีเครื่องสังเวย
                                                                                    [17]
           ดั้งเดิมได้ เนื่องจากอาจจะไม่สามารแสวงหาวัตถุดิบ  ที่เป็นต�ารับอาหารพื้นบ้านที่หลากหลาย
           ได้ครบ มีเวลาไม่เพียงพอ ต้องการความสะดวก หรือ     ในส่วนแนวทางการน�าอาหารพื้นบ้านสู่การสร้าง
           อาหารที่ปรุงรสชาติไม่ถูกปากบุตรหลาน รวมถึงผู้สูง  เสริมสุขภาพผู้สูงอายุเป็นแนวทางที่ก่อเกิดจากความ
           อายุบางส่วนต้องพึ่งพาบุตร หลานในการเตรียมอาหาร  ต้องการของชุมชนที่สะท้อนผ่านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

           ให้ในแต่ละมื้อ สอดคล้องกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะ  ซึ่งกระบวนการเริ่มต้นตั้งแต่ต้นน�้า กลางน�้า และปลาย
           สมในการจัดการอาหารด้วยตนเองที่ต้องการความ   น�้า ทั้งนี้แนวทางเหล่านี้อาจจะสะท้อนความเป็นวิถี
           สะดวก ง่าย ตามที่ใจต้องการ ส่วนการรับประทาน  การด�ารงชีวิตประจ�าวันแบบล้านนาที่ยังคงแบบแผน

           อาหารจะรับประทานตามที่ลูกหลานจัดการอาหารให้   การบริโภคอาหารพื้นบ้าน และการให้ความส�าคัญ
           รับประทานอาหารตามสะดวก และรับประทานตาม      ต่อการเผยแพร่องค์ความรู้ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                      [16]
           ความต้องการ  แต่อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมอาหาร   ปรากฏการณ์เหล่านี้อาจจะส่งเสริมให้วัฒนธรรม
           พื้นบ้านของผู้สูงอายุยังคงมีความส�าคัญต่อวิถีการ  อาหารพื้นบ้านยังคงอยู่กับชุมชนและเป็นทางเลือกใน
           ด�ารงชีวิตประจ�าวันที่ผู้สูงอายุต้องเผชิญปัญหาสุขภาพ  การสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม

           ที่บางครั้งไม่สามารถคาดเดาได้ นอกจากนี้ต�ารับแกง  นอกจากนี้แนวทางการให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการ
           และต�ารับน�้าพริกเป็นต�ารับอาหารพื้นบ้านที่ผู้สูงอายุ  ส่งเสริมการบริโภคอาหารจะยังส่งผลต่อปฏิสัมพันธ์

           ในชุมชนนิยมบริโภค อาจเป็นไปได้ว่าต�ารับอาหาร  ของสมาชิกในครอบครัว และโอกาสการถ่ายทอดองค์
           พื้นบ้านนี้มีขั้นตอนการปรุงที่ไม่ซับซ้อน ทั้งการท�า  ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมอาหารพื้น
           เครื่องแกงที่ใช้ส่วนประกอบจากวัตถุดิบที่หาได้ง่าย  บ้านสู่คนรุ่นต่อไป ซึ่งการพัฒนาอาหารพื้นบ้านแบบ

           ในชุมชน รวมถึงความคุ้นชินในการบริโภคจนกลาย  มีส่วนร่วมที่สร้างความตระหนักให้ชุมชนเห็นความ
           เป็นบริโภคนิสัยของผู้สูงอายุในชุมชน อาหารต�ารับ  ส�าคัญของอาหารพื้นบ้านต่อสุขภาพ ทั้งร่างกาย จิตใจ
           แกงบางต�ารับยังส่งผ่านความเชื่อ ความศรัทธาสิ่ง  อารมณ์และสังคม เสริมสร้างความสามัคคี และสร้าง

           เหนือธรรมชาติ เช่น การรับประทานแกงขนุนใน    จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันก่อเกิดเป็นชุมชนเข้มแข็ง
           งานพิธีกรรมต่าง ๆ จะท�าให้ตนเองและครอบครัว  ซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นระบบความสัมพันธ์และ
           มีสิ่งค�้าจุนในการด�าเนินชีวิต สอดคล้องกับรายงาน  ผลกระทบของอาหารพื้นบ้านที่มีต่อชุมชนในภาค

                                                           [18]
           การศึกษาที่พบว่า ภูมิปัญญาอาหารล้านนาเป็นการ   เหนือ  อันจะส่งผลต่อการประยุกต์ใช้แนวทางและ
           ถ่ายทอดทางความเชื่อและความศรัทธาของชาวล้านนา   ก่อเกิดผลลัพธ์ด้านสุขภาพต่อชุมชนและผู้สูงอายุได้

           ผ่านพิธีกรรม เช่น พิธีไหว้ผีปู่ย่า พิธีไหว้ผีเสื้อบ้าน ผี  อย่างเหมาะสม
           อารักษ์ ซึ่งกระบวนการด�าเนินกิจกรรมจะเกี่ยวข้องกับ
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245