Page 236 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 236

452 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ และโรคอ้วนเพิ่ม  2.49 ผู้สูงอายุมีวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านระดับน้อย
           ขึ้น ซึ่งปัจจัยการเกิดความเจ็บป่วยเหล่านี้ล้วนเกิดจาก  2.50-3.49 ผู้สูงอายุมีวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านระดับ

           พฤติกรรมการบริโภคเป็นหลัก สอดคล้องกับรายงาน  ปานกลาง 3.50-4.49 ผู้สูงอายุมีวัฒนธรรมอาหารพื้น
           การศึกษาที่พบว่าอาหารบางอย่างที่ผู้สูงอายุต้องรับ  บ้านระดับมาก และ 4.50-5.00 ผู้สูงอายุมีวัฒนธรรม
           ประทานโดยที่ลูกหลานซื้อมาจากตลาด ไม่เป็นที่ถูกใจ   อาหารพื้นบ้านระดับมากที่สุด แบบสอบถามทั้งชุดมี

                                                                             [13]
           และผู้สูงอายุกลัวจะได้รับสารปนเปื้อน ผู้สูงอายุแนะน�า   ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84  และแบบบันทึกการ
           และสนับสนุนให้รับประทานผักพื้นบ้าน ได้แก่ ต�าลึง   ศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ และ
           ชะอม โดยน�ามาปรุงตามต�ารับพื้นบ้านตามที่สืบทอด  การอภิปรายกลุ่ม

           กันมา  ดังนั้นการน�ารูปแบบวัฒนธรรมอาหารที่
                [10]
           สัมพันธ์กับสภาพทางกายภาพและสังคมอันเป็นสิ่งที่  2. วิธีก�รศึกษ�
           แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมการบริโภคของคนที่แตก      2.1  วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล

           ต่างกัน  มาใช้เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ     ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้สูงอายุใน
                 [11]
           อาจเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ชุมชนเวียงท่ากาน - ยุหว่า อ�าเภอสันป่าตอง จังหวัด

           ที่สอดคล้องกับบริบทปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุใน  เชียงใหม่ โดยเลือกใช้การค�านวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง
           พื้นที่อย่างเหมาะสม                         ได้จ�านวน 295 คน  การศึกษาเอกสารท�าการคัด
                                                                      [14]
                การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรม  เลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากเอกสารปฐมภูมิและ

           อาหารพื้นบ้านของผู้สูงอายุ และสังเคราะห์แนวทาง  เอกสารทุติยภูมิ จ�านวน 4 ฉบับ การสัมภาษณ์แบบ
           การน�าอาหารพื้นบ้านสู่การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ  ไม่เป็นทางการจากตัวแทนผู้สูงอายุ จ�านวน 6 คน

                                                       และตัวแทนหน่วยงานด้านสาธารณสุข จ�านวน 1 คน
                       ระเบียบวิธีศึกษ�                ส่วนการอภิปรายกลุ่มใช้ตัวแทนผู้สูงอายุ จ�านวน 6

                การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี (mixed   คน ตัวแทนผู้ดูแลผู้สูงอายุ จ�านวน 4 คน และตัวแทน

           methods) โดยใช้กระบวนเก็บข้อมูลแบบผสมผสาน   หน่วยงานด้านสาธารณสุข จ�านวน 1 คน
           ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ                     2.2  การคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล
                                                           โครงการวิจัยนี้ผ่านการรับรองด้านจริยธรรม
           1. วัสดุ                                    การวิจัยในมนุษย์ จากคณะกรรมการจริยธรรมการ

                เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสอบถาม  วิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เลข
           วัฒนธรรมอาหารพื้นบ้าน ข้อค�าถามครอบคลุมวิธี  จริยธรรม COA No.027/2022

           การจัดเตรียมวัตถุดิบ วิธีการปรุง และวิธีการจัดส�ารับ     2.3  การวิเคราะห์ข้อมูล
           อาหาร ลักษณะแบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณ        การวิจัยเอกสารใช้การวิเคราะห์ตีความหมาย

           ค่า 5 ระดับ แบบสอบถามแต่ละข้อมีคะแนนตั้งแต่   ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์หากระบวนทัศน์ (the-
           1-5 คะแนน  แปลผลค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00-1.49 ผู้สูง  matic analysis) ตามขั้นตอน ดังนี้ อ่านข้อความ
                    [12]
           อายุมีวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านระดับน้อยที่สุด 1.50-  ในเอกสารที่คัดเลือกได้อย่างรอบคอบ ก�าหนด
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241