Page 231 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 231

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  447




            เนื่องจากประชาชนจ�านวนมากใช้กัญชาเพื่อรักษาโรค              ข้อสรุป
                  [13]
            อยู่แล้ว  ดังนั้นการพัฒนาบริการคลินิกัญชาจะเพิ่ม     จากการศึกษานี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความ
            การเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์ในระบบสาธารณสุข   พร้อมและมีทัศคติต่อการจัดบริการคลินิกกัญชา
            และช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ  ทางการแพทย์อยู่ ในระดับสูง แต่เมื่อศึกษาการจัด
            กัญชาทางการแพทย์ให้แก่ประชาชนได้อีกทางหนึ่ง   ตั้งคลินิกกัญชาในโรงพยาบาลเชิงประจักษ์แล้ว พบ

                 ปัจจัยที่สัมพันธ์ในงานวิจัยนี้พบว่า ปัจจัย  ว่า โรงพยาบาลแม่ข่ายขนาดใหญ่กว่าสามารถจัด
            ระดับทัศนคติต่อการจัดบริการคลินิกกัญชา และ  ตั้งและจัดบริการได้อย่างเต็มรูปแบบ ในขณะที่โรง-
            ทัศนคติด้านแผนพัฒนาระบบสุขภาพ (Service      พยาบาลชุมชนในจังหวัดน่าน จัดตั้งคลินิกกัญชาได้

            plan) มีความสัมพันธ์กับการจัดตั้งคลินิกกัญชาใน  จ�านวน 11 แห่ง (ร้อยละ 78.5) จาก 14 แห่ง และพบว่า
            โรงพยาบาลซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานปัจจัยทัศนคติ  ร้อยละ 23.8 จัดตั้งแล้วแต่ยังจัดบริการได้ไม่เต็ม
            มีผลต่อพฤติกรรมการจัดตั้ง และพบว่า ไม่มีปัจจัย  ที่ ไม่ได้สั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชา ทั้งนี้เนื่องจาก

            ใดที่สัมพันธ์กับการสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาในคลินิก  ศักยภาพองค์กร และข้อจ�ากัดทางด้านทรัพยากร
            กัญชาทางการแพทย์ ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นแพทย์  โดยเฉพาะด้านบุคลากรทั้งอัตราก�าลังและสมรรถนะ

            ผู้มีอ�านาจในการสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชา มีจ�านวน 14   นอกจากนี้ พบว่า ระดับทัศนคติต่อการจัดบริการ
            ราย ตัวอย่างมีจ�านวนไม่มากพอ จึงเป็นข้อจ�ากัดของ  คลินิกกัญชาโดยรวม และทัศนคติด้านแผนพัฒนา
            งานวิจัย เนื่องจากแพทย์ที่ปฏิบัติในโรงพยาบาลชุมชน  ระบบสุขภาพ (Service plan) สาขากัญชาทางการ

            มีน้อย เพิ่งผ่านการอบรม และคลินิกเพิ่งด�าเนินการจัด  แพทย์มีความสัมพันธ์กับการจัดตั้งคลินิกกัญชา
            ตั้ง จึงยังไม่มีความพร้อมในการสั่งจ่าย สอดคล้องกับ  ในโรงพยาบาล ชี้ให้เห็นว่าหากต้องการสนับสนุน

            การศึกษาของ พรอส์กและคณะที่ระบุว่า จ�านวนแพทย์  สถานพยาบาลให้สามารถจัดตั้งและด�าเนินการรักษา
            ในแคนาดามีน้อยกว่าร้อยละ 20 ที่ได้รับการอนุมัติให้  ผู้ป่วยด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์อย่างมี
                                               [1]
            มีอ�านาจสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์  และ  ประสิทธิผล จ�าเป็นต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติ มุมมอง
            ได้เสนอแนะการพัฒนาส่งเสริมคลินิกกัญชาทางการ  การรักษากัญชาในเชิงบวก และพัฒนาการจัดบริการ
            แพทย์ว่า รูปแบบการจัดบริการในระยะเริ่มแรก   คลินิกผ่านแผนพัฒนาระบบสุขภาพ สาขากัญชา
            ควรค�านึงถึงผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางที่ส�าคัญที่สุดและ  ทางการแพทย์ ซึ่งจะช่วยให้การขับเคลื่อนงานอย่างมี

            ต้องการความร่วมมือจากสหวิชาชีพทางการแพทย์   ทิศทางและเป้าหมายได้ชัดเจนได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งควร
            ในการดูแล การสนับสนุน และการศึกษาการบูรณา   มีการวิจัยทางคลินิกด้านประสิทธิผลการรักษาด้วย
            การความเชี่ยวชาญทางคลินิกร่วมกับการบริหารและ  ผลิตภัณฑ์กัญชา ที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อ

            การสนับสนุนด้านการศึกษาควบคู่ไป อีกทั้งยังต้อง  สร้างความเชื่อมั่นในการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชารักษา
            ติดตามตรวจสอบอย่างใกล้ชิดในข้อบังคับกฎหมาย  ผู้ป่วยต่อไป

            ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236