Page 230 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 230

446 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566



                         อภิปร�ยผล                     ศึกษาว่า สารสกัดกัญชาสามารถช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต

                การศึกษาการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการ  ของผู้ป่วย ช่วยลดระดับความปวด และสามารถน�ามา

           แพทย์ในโรงพยาบาลรัฐ จังหวัดน่านนี้ได้เก็บ   เป็นการรักษาทางเลือกให้กับผู้ป่วยที่รับการรักษาตาม
           ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิด  วิธีมาตรฐานแล้วไม่ได้ผล  แต่การศึกษาวิจัยยังไม่
                                                                          [10]
           ชอบคลินิกกัญชาทางการแพทย์ในโรงพยาบาลรัฐ     แพร่หลาย ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของแพทย์ในการใช้

           ครอบคลุมทุกพื้นที่ในจังหวัด พบว่า โรงพยาบาล  และการสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ ทั้งนี้
           ขนาดใหญ่ระดับแม่ข่ายมีความพร้อมในการจัด     ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม มีสิทธิปฏิเสธที่จะสั่งจ่าย
           ตั้งและพร้อมให้บริการคลินิกกัญชาได้มากกว่าโรง  ผลิตภัณฑ์กัญชาหากเห็นว่ามีเหตุผลทางคลินิกไม่

           พยาบาลขนาดเล็กเนื่องจากโรงพยาบาลเครือข่ายมีข้อ  เพียงพอหรือไม่มีหลักฐานสนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์
           จ�ากัดทรัพยากรต่าง ๆ โดยเฉพาะบุคลากร แม้ว่ากลุ่ม  หรือยังไม่ได้รับการรับรองต�ารับจากส�านักงานคณะ
           ตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 95.0 จะรับทราบนโยบายเป้า  กรรมการอาหารและยา จึงไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา

           หมายการจัดตั้งให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์  เป็นทางเลือกอันดับแรกในการรักษาโรคและภาวะใด ๆ
                                                               [11]
           และกระแสการตื่นตัวของสังคมต่อเรื่องการรักษาโรค  ของผู้ป่วย  ในขณะที่แนวปฏิบัติในประเทศไทย
           ด้วยกัญชามีสูง แต่ยังพบว่าการจัดบริการคลิกนิกกัญ  ค่อนข้างมีข้อจ�ากัดการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการ
           ชาทางการแพทย์ท�าได้ไม่เต็มที่               แพทย์ ซึ่งแตกต่างกับการศึกษาของคอร์รูนและคณะ
                ความรู้เกี่ยวกับการใช้และสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์  (2017) ที่ท�าการวิจัยผู้ป่วยที่ใช้กัญชาทางการแพทย์

           กัญชาของแพทย์ส่วนใหญ่มีความรู้ในระดับปาน    ในรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี
           กลาง เป็นข้อค�าถามการประยุกต์การใช้ความรู้กับ  แนวโน้มที่จะใช้กัญชาทดแทนยาที่ต้องสั่งโดยแพทย์

           ผู้ป่วยที่ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อการรักษา   โดยเฉพาะร้อยละ 61 ของใบสั่งยาใช้กัญชาเพื่อลด
           ทั้งนี้ เนื่องจากแพทย์ปฏิบัติการส่วนใหญ่เป็นแพทย์  ความเจ็บปวดร้อยละ 58 ใช้เพื่อความวิตกกังวล และ
           ที่ใช้ทุนจบใหม่มีประสบการณ์การรักษาและระยะเวลา  ร้อยละ 50 ใช้เพื่อจัดการกับภาวะซึมเศร้า [12]

           การท�างานยังน้อย ประกอบกับเป็นระยะเริ่มแรกโรง-     จากการศึกษาสถานการณ์การใช้กัญชาทางการ
           พยาบาลเพิ่งจัดตั้งคลินิกกัญชา ระบบการจัดบริการ  แพทย์ในประเทศไทยของสาวิตรี อัษณางค์กรชัยและ
           ยังท�าได้ไม่เต็มที่ จึงมีผู้มารับบริการน้อยและไม่มี  คณะ (2564) พบว่า ผู้ให้ข้อมูลในภาคกลางและภาคใต้

           หลักฐานเชิงประจักษ์เพียงพอ ส่งผลต่อการตัดสินใจ  ระบุว่า ได้ผลิตภัณฑ์กัญชามาจากผู้ค้ายาในตลาดมืด
           สั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาของแพทย์              เป็นสัดส่วนสูงสุด (ร้อยละ 77.8 และร้อยละ 80.4) ผู้ใช้
                อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการศึกษาวิจัยเชิงประจักษ์  ส่วนใหญ่ได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาจากแหล่งนอกระบบ

           ประสิทธิผลของยาน�้ามันกัญชาอยู่บ้าง เช่น มีการ  สาธารณสุขและใช้กัญชาเพื่อรักษาโรคหรืออาการเจ็บ
           ศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดกัญชา คลินิกกัญชา  ป่วยหลายชนิดที่อยู่นอกเหนือข้อแนะน�าของกระทรวง

           ทางการแพทย์ โรงพยาบาลล�าปาง พบว่า ข้อบ่งใช้ส่วน  สาธารณสุขหรือไม่มีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุน
           ใหญ่ร้อยละ 53 เป็นการรักษาแบบประคับประคอง   ประสิทธิผล แต่ผู้ใช้ส่วนใหญ่กลับมองเห็นเฉพาะด้าน
           รองลงมารักษาภาวะปวดร้อยละ 40 และมีข้อสรุปการ  บวกของกัญชาและผลของการใช้กัญชาเพื่อรักษาโรค
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235