Page 166 - J Trad Med 21-1-2566
P. 166

146 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ลักษณะโรคและอาการต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ในศิลาจารึก   ศาสนา ด้วยความที่โรคเหล่านี้ทางโบราณให้ความ
           สะท้อนความน่ากลัวของโรคร้าย การเผชิญกับโรค   ส�าคัญและสั่งสมความรู้ทางด้านการรักษาพยาบาล

           ต่าง ๆ ของคนในสังคมสมัยนั้น จารึกค�าอธิษฐาน  ดั่งปรากฏในเอกสารต่าง ๆ ทั้งจากจารึกและเอกสาร
           จึงเป็นหลักฐานส�าคัญที่แสดงถึงประวัติศาสตร์ทาง  โบราณต�ารายา บางโรคที่กล่าวถึงไม่ค่อยปรากฏพบ
           ด้านการแพทย์ การรักษาพยาบาลของคนไทยที่น่า   ในปัจจุบัน หรืออาจจะมีการเรียกและให้ความหมายที่

           สนใจศึกษาเป็นอย่างยิ่ง เพราะการเรียกชื่อโรคและ  แตกต่างออกไปจากค�าดั้งเดิม หรือน�ามาเรียกลักษณะ
           ลักษณะอาการต่าง ๆ นั้น ยังปรากฏในจารึกต�ารา  ความรุนแรงของอาการโรคในปัจจุบัน เช่นค�าว่า มะเร็ง
           ยาคัมภีร์แพทย์แผนไทย ต�ารายาพื้นบ้านภาคเหนือ    ซึ่งการเรียกชื่อโรคดังกล่าวยังต้องศึกษาค้นคว้าต่อไป

           อีสาน และทางภาคใต้ของประเทศไทย แสดงถึงการ
           เผชิญกับโรคต่าง ๆ เหล่านี้ การจัดการดูแลวางแผน         กิตติกรรมประก�ศ
           การรักษาพยาบาลจึงเป็นสิ่งส�าคัญ ก่อให้เกิดต�ารับ     ขอบพระคุณ คณาจารย์ภาควิชาภาษาตะวันออก

           ยาต่าง ๆ มากมายซึ่งที่ใช้ในการรักษาโรคและอาการ  คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร และเพื่อนพี่
           เจ็บป่วยเหล่านี้ซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาทางสุขภาพที่  น้องกัลยาณมิตร สาขาจารึกภาษาไทยและภาษาตะวัน

           ส�าคัญของไทย                                ออกทุกท่านที่ได้ให้ค�าชี้แนะส่งเสริมและให้ค�าปรึกษา
                                                       ด้วยดีเสมอมา การวิจัยนี้ขอให้เป็นดั่งธูปเทียนแพ
                           ข้อสรุป                     แสดงความเคารพต่อบรมครูอาจารย์จารึกและแพทย์


                จารึกค�าอธิษฐาน เป็นจารึกที่เก่าที่สุดที่กล่าวถึง  แผนไทยในฐานะศิษย์ที่ได้รับการประสิทธิ์ประสาท
           ชื่อโรคและอาการทางการแพทย์แผนโบราณของไทย    วิชาด้านการอ่านจารึกและการแพทย์แผนไทย

           ซึ่งโรคดังกล่าวยังปรากฏเรียกอยู่ในปัจจุบัน ทั้งที่พบ
           ในจารึกและคัมภีร์การแพทย์แผนไทยในสมัยต่อ ๆ                References
           มา เช่น จารึกวัดราชโอรสาราม จารึกวัดพระเชตุพน    1.  The Fine Arts Department. Thai national history. Bang-
                                                           kok: The Fine Arts Department, 2558. (in Thai)
           วิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) คัมภีร์ทิพมาลา และต�ารา
                                                         2.  Royal Institute. Thai literature Dictionary in Sukhothai
           แพทยศาสตร์สงเคราะห์ที่เป็นแบบเรียนการแพทย์      Period: TribhumiKatha. 2nd ed. Bangkok: Royal Institute;
           แผนไทยในสมัยปัจจุบัน และยังปรากฏในต�ารายา       2013. (in Thai)
                                                         3.  Sobhonsiri S. “History of Development Thai Traditional
           พื้นบ้านทั้งภาคเหนือและอีสานของประเทศไทย ซึ่ง   Medicine.” Folk medicine and Alternative Medicine in
           โดยส่วนมากเป็นโรคที่เป็นโดยแสดงพยาธิสภาพที่     Thailand In: vichai Ch, Suvich V, Papod Ph, editors.
                                                           Report of public health Thailand, Traditional Medicine.
           ผิวหนัง เช่น ตุ่ม หนอง เม็ด ผื่น แผลเปิดเน่าเปื่อย มี  Folk medicine and Alternative Medicine. 3rd ed. Non-

           อาการคัน แสบร้อนที่ผิวหนัง เป็นต้น ผู้คนที่เป็นโรค  thaburi: Department of Development Thai Traditional
                                                           Medicine and Alternative Medicine, Ministry of Public
           ผิวหนังเหล่านี้ เป็นแล้วใช้เวลาในรักษานาน เกิดพยาธิ  Health, 2010 : p 1-65. (in Thai)

           สภาพที่ผิวหนังภายนอกซึ่งมองเห็นได้ชัดเจน บางโรค    4.  Corpus of Thai inscriptions installment VIII: Sukhothai
                                                           inscriptions. Bangkok: Fine Arts Department; 2005. (in
           มีความร้ายแรง น�าไปสู่ความพิการทางด้านร่างกาย
                                                           Thai)
           และบางโรคเป็นข้อห้าม ในการบวชเป็นพระในพุทธ    5.  Muenpotong S. Disease and medicine in Sukhothai In-
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171