Page 109 - J Trad Med 21-1-2566
P. 109

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  89




                 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ          สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรร่วมกับ
                 เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิง    ผู้เชี่ยวชาญและทีมผู้บริหาร ศึกษาดูงานรูปแบบการ

            เนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ที่เชี่ยวชาญด้านการ   ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายในบริบทของพื้นที่
            ดูแลผู้ป่วยมะเร็งด้วยการแพทย์แผนไทยและ      อาศัยความร่วมมือของชุมชนและภาคีเครือข่าย รวม
            สมุนไพร ทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดย   ทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วมจาก

            น�าไปทดลองใช้กับผู้ป่วยหรือผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ  ทีมสหวิชาชีพผู้ให้บริการในสถานการณ์จริง และจัด
            สุดท้าย จ�านวน 15 ราย วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์  ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ
            แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient)   สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

            ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86, 0.82, 0.85, 0.80 และ       ระยะที่ 3: การน�ารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
            0.79 ตามล�าดับ                              ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไป
                    ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพควบคุมคุณภาพ    ทดลองใช้กับกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย

            ความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยการตรวจสอบสามเส้า     การวิเคราะห์ข้อมูล
            เชิงวิธีการ (methodological triangulation) โดย      1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิง

            การเก็บรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ วิธี เช่น การสัมภาษณ์  เนื้อหา (content analysis)
            เชิงลึก การอภิปรายกลุ่มและการสังเกต และน�าผล      2. ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง
            การวิเคราะห์กลับไปให้ผู้ให้ข้อมูลได้ตรวจสอบ และ  พรรณนา (descriptive statistics) ได้แก่ การ

            รับรองความถูกต้องของข้อมูล (member check)   แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
            เพื่อการยืนยันว่าข้อมูลที่ได้ถูกต้องกับการรับรู้ของ  มาตรฐาน และใช้สถิติอนุมานเปรียบเทียบความแตก

            ตนเอง                                       ต่างของคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่มก่อนและหลังการ
                 ขั้นตอนด�าเนินการวิจัย                 ทดลอง ด้วยสถิติ paired t-test
                 การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ

            สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร แบ่งเป็น              ผลก�รศึกษ�
            3 ระยะ คือ                                       ผลการศึกษารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ
                 ระยะที่ 1: ศึกษาสถานการณ์การดูแลผู้ป่วย  สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร แบ่งเป็น

            มะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและ      3 ระยะ ดังนี้
            สมุนไพร ด้วยการทบทวนวรรณกรรมและการ               ระยะที่ 1 สถานการณ์การดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
            สัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มผู้ให้บริการผู้ป่วยและผู้ดูแลหลัก  ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

                 ระยะที่ 2: พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง     ผลการศึกษาถึงสถานการณ์การดูแลผู้ป่วย
            ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร     มะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและ

            ด้วยการอภิปรายกลุ่มและประชุมระดมสมองของ     สมุนไพร ตาม 6 องค์ประกอบภายใต้กรอบระบบ
            คณะท�างานสหวิชาชีพการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ  สุขภาพขององค์การอนามัยโลก ดังนี้
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114