Page 106 - J Trad Med 21-1-2566
P. 106

86 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




                    บทนำ�และวัตถุประสงค์               ผ่าตัด การฉายรังสีรักษาและการให้ยา ทั้งเคมีบ�าบัด

                โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ   ที่เป็นการใช้ยาตรงเป้าหมาย และวิธีการทางภูมิคุ้มกัน
           ของคนทั่วโลก องค์การอนามัยโลกรายงานว่ามีผู้ป่วย  มะเร็งวิทยาซึ่งการรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
           มะเร็งรายใหม่สูงถึง 18.1 ล้านคน และมีอัตราการเสีย  แผนปัจจุบันในประเทศไทยมีประสิทธิผลสูง แต่ต้อง

                                              [1]
           ชีวิตจากโรคมะเร็งสูงถึง 9.6 ล้านคน ในปี 2561 ขณะ  ใช้องค์ความรู้เทคโนโลยีทางการแพทย์และเวชภัณฑ์มี
           ที่สถานการณ์ในประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการ  ราคาสูงซึ่งต้องน�าเข้าจากต่างประเทศ และไม่สามารถ

           เสียชีวิตอันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 16 ของเหตุการณ์เสีย  ตอบสนองความต้องการของประชาชนในการรักษา
           ชีวิตทั้งหมดซึ่งสูงกว่าอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ   โรคเรื้อรังได้ครอบคลุมโรคที่ต้องใช้การดูแลรักษา
           และโรคหัวใจเฉลี่ย 2-3 เท่า หรือมีอัตราการเสียชีวิต  เป็นเวลานาน เช่น โรคมะเร็ง อีกทั้งยังไม่สอดคล้อง

                                       [2]
           จากโรคมะเร็งเฉลี่ย 8 รายต่อชั่วโมง  จากสถิติชี้ให้  กับขนบธรรมเนียม ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับการ
           เห็นว่าอัตราการป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งสูงขึ้น   ดูแลสุขภาพของคนไทย ซึ่งแตกต่างไปจากวัฒนธรรม

           และคาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ           ทางการแพทย์แผนปัจจุบัน [6]
                โรคมะเร็งเมื่อเป็นแล้วมักพบปัญหาที่ส่งผลต่อ     ทั้งนี้การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายต้อง
                                                                                           [7]
           การด�าเนินชีวิตในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านกาย ได้แก่ การ  อาศัยการดูแลแบบองค์รวม (holistic care)  ที่
           ท�างาน การเดิน การนอนหลับพักผ่อน และการปฏิบัติ  ครอบคลุมทั้งกาย จิตใจ ปัญญาและสังคม  ซึ่งใน
           กิจวัตรประจ�าวัน ด้านจิตใจและอารมณ์ ได้แก่ สภาพ  ปัจจุบันมีการบูรณาการการแพทย์แผนไทยกับการ
           อารมณ์ ความสนุกสนาน/ความสุขในชีวิต ด้านสังคม   แพทย์แผนปัจจุบัน แต่พบว่าการให้บริการดูแล

           ได้แก่ สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น และด้านจิตวิญญาณ   ผู้ป่วยมะเร็งด้วยการแพทย์แผนไทยยังขาดข้อมูล
           ได้แก่ การตั้งค�าถามตัวเองเกี่ยวกับความหมายของ  ทางวิชาการสนับสนุน  ยังต้องการการศึกษาวิจัยเชิง
                                                                       [8]
               [3]
           ชีวิต  การมีภาวะบีบคั้นทางจิตใจ (spiritual dis-  ระบบและรูปแบบการจัดบริการการดูแลแบบประคับ
           tress) จากความไม่แน่นอนของโรค และการเผชิญ   ประคองที่เหมาะสม จึงศึกษารูปแบบการใช้องค์ความ
           ความตายที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ท�าให้มีความวิตก  รู้ทางการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรที่ครอบคลุมทั้ง

           กังวล ท้อแท้ ซึมเศร้า หมดหวัง กลัวความตาย และ  กาย จิตใจ ปัญญาและสังคม  โดยการมีส่วนร่วมกับ
                                       [4]
           กลัวความพลัดพรากจากครอบครัว  ส่งผลให้ช่วง   ทีมสหวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
           สุดท้ายของชีวิตเป็นวาระแห่งความเศร้าโศก  รวมทั้ง  การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์
                                            [5]
           ยังส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว จน  พัฒนาและประเมินรูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ
           เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ส�าคัญโรคหนึ่ง จึงมีความ  สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

           จ�าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องหารูปแบบในการเพิ่มคุณภาพ
           ชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว และการเสียชีวิตอย่าง         ระเบียบวิธีศึกษ�
           สมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์                    การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาในรูปแบบการวิจัย

                การรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์แผน       และพัฒนา (research and development) ของ
           ปัจจุบันของโรคมะเร็งมีหลายวิธีด้วยกัน เช่น การ  บอร์กและกอลล์  ร่วมกับการบูรณาการกรอบแนวคิด
                                                                   [9]
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111