Page 112 - J Trad Med 21-1-2566
P. 112

92 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นระดับจังหวัดและระดับ  อีกทั้งขาดการติดตามหรือเยี่ยมบ้าน หลังการศึกษา
           โรงพยาบาลที่เห็นด้วยและสนับสนุนการด�าเนินตาม  พบว่า รูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย

           นโยบายดังกล่าว แต่พบว่าการด�าเนินการดูแลรักษาผู้  แบบประคับประคองด้วยการแพทย์แผนไทยและ
           ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยถึงแม้  สมุนไพร โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย ประกอบ
           มีนโยบาย แต่ก็ต้องใช้อ�านาจ ค�าสั่งจากผู้บังคับบัญชา   ด้วยกระบวนการดูแล 5 ระยะ (ตารางที่ 1)

           อาศัยระยะเวลา และงบประมาณเป็นจ�านวนมากเพื่อ
           เห็นผลส�าเร็จการด�าเนินงาน                      ระยะที่ 3 การน�ารูปแบบไปทดลองใช้

                  “การที่มีนโยบายให้รับดูแลรักษาผู้ป่วย      จากการน�ารูปแบบไปทดลองใช้ ทีมสหวิชาชีพ
           มะเร็งจากกรมการแพทย์แผนไทยฯ นั้นดีมาก’’     ได้มองเห็นผลด้านบวก คือ เกิดการท�างานร่วมกัน

           (ผู้ให้บริการ)                              ระหว่างแพทย์แผนไทยและทีมสหวิชาชีพอื่น ๆ และ
                  “ขึ้นอยู่กับนโยบายของผู้มีอ�านาจในการสั่ง  มีความพยายามจะสื่อสารให้เข้าใจตรงกันมีแนวทาง

           การ และการสั่งการด�าเนินงานจะเดินไปได้ คือ บาง  ปฏิบัติที่ชัดเจนขึ้นและท�าให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็น
           เรื่องก็ต้องออกเป็นนโยบายที่มีตัวชี้วัด’’ (ผู้ให้บริการ)  ไปในรูปแบบเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการ
                  “การกรมแพทย์แผนไทยฯ มีนโยบายที่ให้   ดูแลรักษาระหว่างแพทย์แผนไทยและทีมสหวิชาชีพ

           รักษาผู้ป่วยมะเร็งด้วยยาสมุนไพร มันดีมาก ก่อนมา  และมีการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้ชัดเจนมาก
           ที่นี้ไปมาหมดแล้ว ไปทุกที่ เห็นแม่ปวดทนดูไม่ได้’’    ขึ้น รวมทั้งมีการวางแผน

           (ผู้ดูแลหลัก)                                   การดูแลรักษาล่วงหน้า ส่งผลให้คุณภาพการ
                                                       ดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยและทีมผู้ให้บริการมีความ
                ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง  พึงพอใจ รายละเอียด ดังนี้

           ระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร         1. ด้านผู้ให้บริการ กลุ่มตัวอย่างประกอบ
                   ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการให้บริการ   ด้วยผู้ปฏิบัติงานจาก 4 วิชาชีพ จ�านวน 55 คน เป็น

           ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและ  แพทย์ 9 คน (ร้อยละ 16.70) เภสัชกร 9 คน (ร้อยละ
           สมุนไพรก่อนการศึกษาเป็นการให้บริการในรูปแบบ  16.70) พยาบาลวิชาชีพ 13 คน (ร้อยละ 23.30) และ

           ผู้ป่วยนอก (OPD) ที่ไม่ได้มีการบูรณาการประยุกต์  แพทย์แผนไทย 24 คน (ร้อยละ 43.30) เป็นเพศหญิง
           ใช้เครื่องมือวัด หรือแบบประเมินอาการผู้ป่วยที่เป็น  42 คน (ร้อยละ 76.40) เพศชายจ�านวน 13 คน (ร้อยละ

           มาตรฐาน ขาดการบูรณาการวางแผนการรักษาร่วม    23.60) อายุ 30–39 ปี (33.4 ± 1.54) ระยะเวลาการ
           กับทีมสหวิชาชีพ โดยการรักษาเป็นการใช้ยาสมุนไพร  ท�างานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผู้ป่วย 2–9 ปี
           และให้ค�าแนะน�าทั่วไปตามอาการและภาวะของผู้ป่วย   (3.5 ± 3.03) ระดับการศึกษาปริญญาโท 20 คน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117