Page 108 - J Trad Med 21-1-2566
P. 108

88 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ลงวันที่ 11 กันยายน 2560                    พึงพอใจระดับน้อยที่สุด
                                                             คะแนนเฉลี่ย  1.50 – 2.49  หมายถึง   มีความ
           2. วิธีก�รศึกษ�                             พึงพอใจน้อย

                เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ส่วน         คะแนนเฉลี่ย  2.50 – 3.49  หมายถึง มีความ
           คือ                                         ถึงพอใจปานกลาง

                ส่วนที่ 1 เครื่องมือด�าเนินการพัฒนารูปแบบ         คะแนนเฉลี่ย  3.50 – 4.49  หมายถึง มีความ
           ประกอบด้วย                                  พึงพอใจมาก
                  1.1 แนวค�าถามการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-        คะแนนเฉลี่ย  4.50 – 5.00  หมายถึง มีความ

           depth interview) กลุ่มผู้ให้บริการผู้ป่วยและผู้ดูแล  พึงพอใจมากที่สุด
           หลัก โดยใช้กรอบแนวคิดระบบสุขภาพขององค์การ         2.4 แบบการประเมินอาการต่าง ๆ ในผู้ป่วย
           อนามัยโลก (six building blocks of health sys-  ระยะสุดท้าย [Edmonton Symptom Assessment

           tem) ประกอบด้วย 1) ภาวะการน�าและการอภิบาล   System (ESAS)] โดยให้ผู้ป่วยเป็นผู้ประเมินอาการ
           2) การเงินและงบประมาณ 3) บุคลากรด้านสุขภาพ   ต่าง ๆ ก่อนการเข้ารับบริการ (day 1) และหลังจ�าหน่าย

           4) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และเทคโนโลยี    (day 3) ทั้งหมด 9 อาการ ประกอบด้วย ปวด เหนื่อย/
           5) สารสนเทศและการวิจัย และ 6) การให้บริการ  อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ง่วงซึม เบื่ออาหาร เหนื่อยหอบ
                  1.2 แนวค�าถามประกอบการอภิปรายกลุ่ม   ซึมเศร้า วิตกกังวล และสบายดีทั้งกายและใจ แต่ละ

           (focus group discussion) เนื้อหาประกอบด้วย    อาการจะถูกวัดด้วย Visual Numeric Scales (VNS)
           1) ความเป็นไปได้และความเหมาะสมของรูปแบบ     ตั้งแต่ 0-10 โดยเลข 0 หมายถึง ไม่มีอาการ และเลข

           การดูแลรักษา  2) ปัญหาของการน�ารูปแบบไปใช้ และ   10 หมายถึง มีอาการมากที่สุด และในข้อความสบาย
           3) ประโยชน์ที่ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายจะได้รับจาก  ดีทั้งกายและใจ (well-being) เลข 0 หมายถึง ผู้ป่วย
           รูปแบบการดูแลรักษาที่ได้พัฒนาขึ้น           รู้สึกสบายดีทั้งกายและใจ และเลข 10 หมายถึง ผู้ป่วย

                ส่วนที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล   รู้สึกไม่สบายทั้งกายและใจ
           ประกอบด้วย                                        2.5 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
                  2.1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่ม  และผู้ดูแลหลัก โดยประเมินก่อนการเข้ารับบริการ

           ตัวอย่าง                                    (day 1) และหลังจ�าหน่าย (day 3) จ�านวน 10 ข้อ เป็น
                  2.2 แบบสอบถามความเห็นของสหวิชาชีพ    มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) แบ่งเป็น 5
           ต่อการน�ารูปแบบไปใช้                        ระดับ ดังนี้ 1 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจระดับ

                  2.3 แบบประเมินความพึงพอใจของทีม      น้อยที่สุด จนถึง 5 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจ
           สหวิชาชีพที่ให้บริการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย  ระดับมากที่สุด การแปลผลใช้เกณฑ์เป็นมาตราส่วน

           ด้วยการแพทย์แผนไทย จ�านวน 10 ข้อ เป็นมาตราส่วน  ประมาณค่า (rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ เช่น
           ประมาณค่า (rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้   เดียวกัน
                  คะแนนเฉลี่ย  1.00 – 1.49  หมายถึง มีความ
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113