Page 114 - J Trad Med 21-1-2566
P. 114

94 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566



           ตารางที่ 1  (ต่อ) รูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

                       ระยะ                                  กิจกรรมการดูแล

                                             บํารุง คือ ภายหลังการให้ยารักษาอาการต่าง ๆ ดีขึ้นแล้ว จะมียาที่ใช้รักษา
                                                อาการไม่สุขสบาย ยาบ�ารุงที่ช่วยให้เจริญอาหาร เพิ่มภูมิต้านทานของ
                                                ร่างกาย เพื่อฟื้นฟูสภาพ และปรับสมดุลร่างกาย
                                                 - ยารสหอมเย็น ช่วยบ�ารุงหัวใจ เช่น เกสรบัวหลวง เกสรทั้งห้า เทียน
                                                  ทั้งห้า ยาหอมเทพจิตร ยาหอมทิพโอสถ
                                             1.2) หัตถการโดยใช้สมุนไพรร่วมด้วย เช่น การพอกยา การแช่ยา การอบ
                                                สมุนไพร การประคบสมุนไพร
                                             1.3) ออกก�าลังกายด้วยท่ากายบริหารแบบฤๅษีดัดตนตามก�าลังและสภาพ
                                                ร่างกายของผู้ป่วย
                                         2) จิตตานามัย ให้ความส�าคัญในด้านจิตใจของผู้ป่วยเป็นหลัก โดยการให้
                                           ความรัก ความเข้าใจ และพิธีกรรมตามความเชื่อ ความศรัทธาเพื่อสร้างขวัญ
                                           และก�าลังใจให้ผู้ป่วย เป็นการสร้างความผาสุกทางจิตใจของผู้ป่วย
                                         3) ชีวิตานามัย การด�าเนินชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งศาสตร์การแพทย์แผนไทย
                                           ให้ความส�าคัญเรื่องอาหารที่ไม่สมควรบริโภค คือ อาหารบูดเน่า อาหารดิบ
                                           ในปัจจุบันอาจรวมถึงอาหารที่ก่อให้เกิดโรค เช่น การตกค้างหรือปนเปื้อน
                                           สารเคมีต่าง ๆ ของหมักดอง และอาหารที่ปรุงไม่ได้มาตรฐานต่าง ๆ
           ขั้นที่ 3 : ระยะดูแลต่อเนื่อง     - ประสานทีมแพทย์แผนไทยและทีมสหวิชาชีพแผนปัจจุบันตามปัญหา และ
           การประเมินปัญหาความต้องการของ   ความต้องการของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
           ผู้ป่วย/ผู้ดูแล (ต่อ)         - ประเมินผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย (Palliative Outcome Scale
                                          : POS) ในผู้ป่วยทุกราย จ�านวน 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันแรกรับ ครั้งที่ 2
                                          หลังจากรับผู้ป่วยไว้ในการดูแลรักษา โดยใช้แบบประเมินผลลัพธ์การดูแล
                                          ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายแบบประคับประคองด้วยการแพทย์แผนไทย
                                          (Palliative Outcome Scale: POS) และลงบันทึกใน Thai traditional medicine
                                          practitioner note และ progress note ส่งต่อข้อมูลให้แก่ทีมวิชาชีพแพทย์
                                          แผนไทยในเวรต่อไป และครั้งที่ 3 ในวันที่เยี่ยมบ้าน รวมทั้งประเมินความ
                                          พึงพอใจของผู้ป่วยหรือผู้ดูแล

           ขั้นที่ 4: ระยะการจําหน่ายผู้ป่วย  แพทย์และแพทย์แผนไทยจ�าหน่ายผู้ป่วย 3 ลักษณะ คือ
           การจ�าหน่ายและการติดตามเยี่ยมที่  1) เมื่อผู้ป่วยและญาติมีความพร้อมในการดูแลรักษาที่บ้าน: อนุญาตให้กลับ
           บ้าน                            บ้าน โดยเตรียมอุปกรณ์ แนะน�าการดูแลรักษาต่อเนื่องที่บ้าน และประสาน
                                           ทีมเวชกรรมสังคม (Home Health Care: HHC) เพื่อประเมินและติดตาม
                                           เยี่ยมที่บ้าน
                                         2) ขอกลับไปเสียชีวิตที่บ้าน: การสังเกตอาการและอาการแสดงก่อนผู้ป่วย
                                           เสียชีวิต
                                         3) เสียชีวิตในโรงพยาบาล: ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการแจ้งตายและการดูแลด้าน
                                           จิตใจหลังการสูญเสีย
           ขั้นที่ 5 : การติดตาม         แพทย์แผนไทยและพยาบาลวิชาชีพ ติดตามเยี่ยมครอบครัวหลังผู้ป่วยเสียชีวิต
           เยี่ยมครอบครัวหลังผู้ป่วยเสียชีวิต
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119