Page 107 - J Trad Med 21-1-2566
P. 107

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  87




            การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (holistic care) ซึ่ง  แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จ�านวน 30
            เป็นการดูแลที่ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ   คน ตามคุณสมบัติ ดังนี้ คือ

            ปัญญาและสังคม ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทีม      เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria)
                                                  [10]
            สหวิชาชีพโดยยึดผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง          (1) ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่มีอายุ
            โดยท�าการศึกษาในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย     18 ปีขึ้นไป ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ที่ได้รับการ

            ต้นแบบ 5 แห่ง ได้แก่ 1) โรงพยาบาลการแพทย์   วินิจฉัยจากแพทย์เจ้าของไข้ว่าเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย
            แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กรมการแพทย์        และลงความเห็นว่าควรรักษาแบบประคับประคอง
            แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2) โรงพยาบาล      (palliative care)

            อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 3) โรงพยาบาลสมเด็จพระ        (2) ผู้ป่วยทราบผลการวินิจฉัย และสมัคร
            ยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 4) โรงพยาบาล  ใจรับการรักษาตามแนวทางการดูแลแบบประคับ
            วัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว และ 5) โรงพยาบาล    ประคองด้วยการแพทย์แผนไทย

            ขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ด�าเนินการวิจัยระหว่าง        (3) ผู้ป่วยสามารถสื่อสารได้
            เดือนกันยายน พ.ศ. 2560 - พฤษภาคม พ.ศ. 2562          (4) ยินยอมและให้ความร่วมมือในการ

                                                        วิจัย
            1. วัสดุ                                         เกณฑ์การคัดออก (exclusion criteria)

                 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 3 กลุ่ม         (1) ผู้ป่วยที่มีสภาพร่างกายและจิตใจที่ไม่

            คือ                                         สามารถเข้าร่วมโครงการวิจัยได้
                 1.1  กลุ่มผู้ให้บริการ เป็นบุคลากรผู้ปฏิบัติ        (2) ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน ผู้ป่วยที่อยู่ใน

            งานจาก 4 วิชาชีพ ประกอบด้วย แพทย์แผนปัจจุบัน   ภาวะเพ้อคลั่ง จิตเสื่อม ภาวะวิกฤต หรือภาวะอื่น ๆ
            เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ และแพทย์แผนไทย ที่ปฏิบัติ     1.3  กลุ่มผู้ดูแลหลัก จ�านวน 30 คน โดยการ
            งานในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย จ�านวน 5       คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling)

            แห่ง ซึ่งเป็นผู้ที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องในการดูแลรักษา    ตามคุณสมบัติ ดังนี้
            ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทย โดย        (1) มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
            มีประสบการณ์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะ         (2) รับหน้าที่ในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย

            สุดท้ายไม่น้อยกว่า 1 ปี และยินดีให้ข้อมูลในการ   มะเร็งระยะสุดท้ายในครั้งนี้มากที่สุด มีระยะเวลาใน
            เข้าร่วมวิจัย ท�าการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง   การดูแลมากกว่า 3 วันต่อสัปดาห์
            (purposive sampling) และสุ่มอย่างง่ายโดยการจับ        (3) ยินดีให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล

            ฉลาก จ�านวน 55 คน จากทุกวิชาชีพ             และการสัมภาษณ์
                 1.2  กลุ่มผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่เข้ารับ      ในการพิทักษ์กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัยครั้ง

            บริการดูแลรักษาในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย    นี้ขออนุมัติการศึกษาวิจัยและผ่านการรับรองจากคณะ
            จ�านวน 5 แห่ง โดยที่อาการด�าเนินโรคเข้าสู่ระยะ  กรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์
            สุดท้าย คือ ระยะที่ 3 และ 4 ของโรค โดยการคัดเลือก  แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่สธ 0503.13/424
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112