Page 53 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 53

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  467




                           อภิปร�ยผล                    มีความปลอดภัย ระดับอุณหภูมิก่อนและหลังแช่เท้า
                 จากการประเมินความรู้สึกของเท้ากลุ่มที่ได้รับ  ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติทั้งภายในกลุ่มและ

            การแช่เท้าด้วยสมุนไพรสูตรลูกประคบจุดที่ไม่รู้สึก  ระหว่างกลุ่ม โดยสอดคล้องกับการศึกษาถึงความ
            ลดลงน้อยกว่ากลุ่มแช่เท้าที่ไม่มีสมุนไพรแต่ไม่แตก  เหมาะสมของระยะเวลาในการประคบร้อนซึ่งอยู่
            ต่างกันทางสถิติ เนื่องจากสมุนไพรที่ใช้ในการแช่เท้า  ในช่วงของการใช้อุณหภูมิที่มีผลดีต่อการรักษาคือ

            อาจมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ช่วยในการส่งเสริมดูแล  40-45 องศาเซลเซียส โดยท�าให้เกิดผลเฉพาะที่ (local
            อาการของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เช่น ขมิ้นชันที่มีฤทธิ์  effect) [15]

            ต้านการอักเสบ ผ่านกลไกต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ด
            เลือดโดยการยับยั้ง platelet-activating factor,              ข้อสรุป
            arachidonic acid และยับยั้งการสร้าง thrombox-     การแช่เท้าสมุนไพรด้วยน�้าที่อุณหภูมิ 38-40

                [12]
            ane  อีกทั้งไพลซึ่งมีฤทธิ์ต้านการอักเสบในระดับ  องศาเซลเซียส ช่วยลดจุดที่ไม่รับความรู้สึกบริเวณ
            สัตว์ทดลอง โดยออกฤทธิ์ต้านการอักเสบในระยะ   เท้าและมีความปลอดภัย ทั้งนี้ส�าหรับการแช่เท้าไม่มี

            เฉียบพลันด้วยการยับยั้งการบวมน�้าที่อุ้งเท้าหนูที่ถูก  สมุนไพรด้วยน�้าที่อุณหภูมิ 38-40 องศาเซลเซียส
            เหนี่ยวน�า ให้เกิดการอักเสบด้วยสาร carrageenan   สามารถท�าได้และมีความปลอดภัยเช่นกัน
            นอกจากสาร compound D แล้วไพลยังมีสาร (E)-

            1-(3, 4dimethoxyphenyl) butadiene (DMPBD)              กิตติกรรมประก�ศ
            ที่แยกได้จากสารสกัดชั้นเฮกเซน (hexane) ที่มีฤทธิ์     ขอขอบคุณกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
            ต้านการอักเสบโดยลดการบวมน�้าที่อุ้งเท้าของหนู  ที่สนับสนุนทุนในการด�าเนินการศึกษาครั้งนี้

                    [13]
            ได้เช่นกัน  ซึ่งการอักเสบเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่ง
            ผลต่อการรับความรู้สึกหรืออาการชาเท้าในผู้ป่วย              References
            เบาหวานชนิดที่ 2  ในขณะที่การเปรียบเทียบภายใน    1.  International Diabetes Federation. IDF Diabetes ATLAS
                         [14]
            กลุ่มทั้งสองกลุ่มจุดที่ไม่รู้สึกลดลงแตกต่างกันทาง  Eighth edition 2017. Bruxelles: Karakas Print; 2018.
                                                          2.  Diabetes Association of Thailand under the Royal Pa-
            สถิติ เนื่องจากผลของความร้อนท�าให้อุณหภูมิของ   tronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri

            เนื้อเยื่อบริเวณนั้นสูงขึ้น เกิดการขยายตัวของหลอด  Sirindhorn Her Royal Highness Princess Maha Chakri
                                                            Sirindhorn. Clinical practice guide line 2017. Bangkok:
            เลือดส่งผลให้เกิดการไหลเวียนของเลือดดีขึ้น      Romye media company; 2018. (in Thai)
                                                  [15]
            และสอดคล้องกับการศึกษาแช่เท้าด้วยสมุนไพรและ     3.  Bakker K, Apelqvist J, Schaper NC. Practical guidelines
                                                            on the management and prevention of the diabetic foot
            แช่เท้าด้วยน�้าอุ่นที่ช่วยลดอาการชาเท้าในผู้ป่วย   2011. Diabetes Metab Res Rev. 2012;28(Suppl 1):225–31.
            เบาหวาน ในส่วนของการวัดอุณหภูมิผิวหนังบริเวณ    4.  Deerochanawong C, Ferrario A. Diabetes management
                   [16]
                                                            in Thailand: a literature review of the burden, costs, and
            เท้าด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อนอินฟาเรด เพื่อศึกษา  outcomes. Global health. 2013;9:1-18.
            ถึงความปลอดภัย พบว่า ผลการวัดอุณหภูมิผิวหนัง    5.  Wang E, Wylie-Rosett J. Review of selected Chinese
            บริเวณเท้าด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อนอินฟาเรด      herbal medicines in the treatment of type 2 diabetes.
                                                            Diabetes Educ. 2008;34(4):645-54.
            ในกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มก่อนและหลังการแช่เท้า    6.  Raksamat W, Thongon P. Effectiveness of a herbal
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58