Page 52 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 52
466 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยจุดรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติ (ข้างซ้าย) ระหว่างกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรและกลุ่มแช่เท้าไม่มี
สมุนไพร ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยจุดรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติของเท้า (ข้างซ้าย)
ก่อนการรักษา หลังการรักษา p-value
กลุ่มแช่เท้าสมุนไพร (n = 30) 3.77 ± 2.86 1.97 ± 2.51 < 0.001*
กลุ่มแช่เท้าไม่มีสมุนไพร (n = 30) 2.90 ± 2.51 2.03 ± 2.53 0.911
p-value 0.233 0.925
ตารางที่ 4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยจุดรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติ (ข้างขวา) ระหว่างกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรและกลุ่มแช่เท้าไม่มี
สมุนไพร ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยจุดรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติของเท้า (ข้างขวา)
ก่อนการรักษา หลังการรักษา p-value
กลุ่มแช่เท้าสมุนไพร (n = 30) 3.37 ± 3.08 1.70 ± 2.65 < 0.001*
กลุ่มแช่เท้าไม่มีสมุนไพร (n = 30) 2.87 ± 2.68 2.01 ± 2.68 0.833
p-value 0.557 0.943
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้า (ข้างซ้าย) ระหว่างกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรและกลุ่มแช่เท้า
ไม่มีสมุนไพร ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยอุณหภูมิของเท้า (ข้างซ้าย)
ก่อนการรักษา หลังการรักษา p-value
กลุ่มแช่เท้าสมุนไพร (n = 30) 33.46 ± 1.39 34.63 ± 1.61 0.733
กลุ่มแช่เท้าไม่มีสมุนไพร (n = 30) 33.85 ± 1.75 34.90 ± 1.50 0.856
p-value 0.379 0.515
ตารางที่ 6 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยอุณหภูมิผิวหนังบริเวณเท้า (ข้างขวา) ระหว่างกลุ่มแช่เท้าสมุนไพรและกลุ่มแช่เท้าไม่มี
สมุนไพร ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยเฉลี่ยอุณหภูมิของเท้า (ข้างขวา)
ก่อนการรักษา หลังการรักษา p-value
กลุ่มแช่เท้าสมุนไพร (n = 30) 33.58 ± 1.86 34.47 ± 1.73 0.789
กลุ่มแช่เท้าไม่มีสมุนไพร (n = 30) 33.59 ± 1.65 34.90 ± 1.50 0.643
p-value 0.976 0.450