Page 119 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 119

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  533




            และแตกต่างจากการศึกษาความคงตัวทางกายภาพ     บวกกับฤทธิ์ก�าจัดอนุมูลอิสระ
            และทางเคมีของต�ารับกลีเซอรีนจากสารสกัดชะเอม      จากผลการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของยา

            ทั้ง 2 พบว่าสารสกัดในวันที่ 0 มีเนื้อละเอียด มีตะกอน  ต้มแก้ไข้ต�ารับหมอเมืองล้านนาด้วยวิธี DPPH และ
            น้อย มีความหนืดมาก และค่า pH เป็นกลางและเมื่อ  ABTS โดยวิธี DPPH พบว่าที่อุณหภูมิ 4˚ซ. มีค่า IC 50
            ถูกทดสอบสภาวะการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 30˚ซ. เป็น  ระหว่าง 15.23 ± 0.53%-22.10 ± 1.42% ที่อุณหภูมิ

            เวลา 30 วัน พบว่ามีสีและการแขวนลอยในต�ารับ และ  25˚ซ. มีค่า IC 50  ระหว่าง 15.63 ± 1.14%-23.18 ±
            ความหนืดลดลง ส่วนในด้านความคงตัวทางเคมีพบ   0.72% ที่อุณหภูมิ 40˚ซ. มีค่า IC 50 ระหว่าง 14.74  ±

            ว่าต�ารับที่ผ่านสภาวะเร่งมีปริมาณฟีนอลิกไม่แตกต่าง  0.04%-22.85 ± 0.51% และวิธี ABTS พบว่าที่ความ
            กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ทั้งนี้เนื่องจากกลีเซอรีน  เข้มข้นระหว่าง 0.3125-5% ความสามารถในการยับยั้ง

            เป็นสารประเภท trihydric alcohol จึงไม่สามารถถูก   สารอนุมูลอิสระได้ 50% ที่อุณหภูมิ 4˚ซ. มีค่า IC 50
            oxidize จึงท�าให้ต�ารับยาที่มีการผสมกลีเซอรีน มี  ระหว่าง 2.65 ± 0.03%-3.37 ± 0.22% ที่อุณหภูมิ

            ความคงตัวสูง (high stability) [24]          25˚ซ. มีค่า IC 50 ระหว่าง 2.63 ± 0.12%-3.77 ± 0.22%
                 จากผลการศึกษาหาปริมาณฟีนอลิกรวมของ     ที่อุณหภูมิ 40˚ซ. มีค่า IC 50 ระหว่าง 2.67 ± 0.04%-
            ยาต้มแก้ไข้ต�ารับหมอเมืองล้านนาที่เวลา 0-7 วัน ที่  3.95 ± 0.05% ซึ่งเมื่อท�าการเปรียบเทียบ ค่า IC 50 เมื่อ

            อุณหภูมิ 4, 25 และ 40˚ซ. พบว่ามีปริมาณฟีนอลิก   เริ่มต้นและสิ้นสุดการศึกษาพบว่ามีความแตกต่าง

            รวมจะค่อนข้างคงที่ในสองวันแรกของการศึกษา โดย  อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ดังนั้นอุณหภูมิถือเป็นปัจจัย
            ปริมาณฟีนอลิกรวมลดลงตามระยะเวลาที่เพิ่มขึ้น   ที่ส�าคัญต่อการเก็บรักษายาต้มแก้ไข้ต�ารับหมอเมือง
            ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p <   ล้านนา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและ

            0.05) และผลการศึกษาหาปริมาณฟลาโวนอยด์รวม    ทางเคมี แปรผันตามอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสูงอัตรา
            ที่อุณหภูมิ 4˚ซ. พบว่ามีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมไม่  การเกิดปฏิกิริยาสูงท�าให้อนุภาคแยกตัวออกมาจากน�้า

            แตกต่างกัน (ในวันที่ 0-1 ของการศึกษา) แต่ที่อุณหภูมิ   จึงส่งผลให้เกิดตะกอนขึ้น และส่งผลให้สีเปลี่ยนแปลง
            25 และ 40˚ซ. พบว่ามีปริมาณฟลาโวนอยด์ลดลง    เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นมีผลต่อโครงสร้างของ

            แตกต่างกันตั้งแต่วันแรกของการศึกษา โดยปริมาณ   สารกลุ่มฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล
            ฟลาโวนอยด์รวมลดลงตามระยะเวลาการเก็บรักษาที่   (hydroxyl group) รวมอยู่ในโครงสร้าง โดยอุณหภูมิ

            เพิ่มขึ้น ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ   ที่สูงจะท�าปฏิกิริยากับอนุมูลไฮดรอกซิล (OH-) ท�าให้
                                                                                           [26]
            นอกจากนั้นได้มีการศึกษาผลของอุณหภูมิที่มีต่อ   เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือแตกหักของพันธะได้  อีก
            ปริมาณฟลาโวนอยด์ในดอกไม้ที่รับประทานได้ 14 สาย  ทั้งอุณหภูมิ ออกซิเจน และแสงแดดสามารถท�าให้

                                                                                 [27]
            พันธุ์ พบว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4˚ซ. ร่วมกับการ  เกิดการสลายของฟลาโวนอย์ได้  การเก็บรักษายา
            ใช้ภาชนะบรรจุภัณฑ์แบบ active modified atmo-  ต้มที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด คือ การเก็บที่อุณหภูมิ

                                                  [25]
            sphere สามารถชะลอการสูญเสียฟลาโวนอยด์ได้    4˚ซ. ในสารกลุ่ม triterpenoid ที่พบในบอระเพ็ด
            และปริมาณสารประกอบฟีนอลิกมีความสัมพันธ์ทาง  สาร rhinacanthin ที่พบในใบทองพันชั่ง สารกลุ่ม
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124