Page 124 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 124
538 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
แกงหมูใบชะมวง แกงใบชะมวงกับเนื้อวัว และอาหาร subtilis และ Enterococcus sp. มี MIC เท่ากับ
[6]
ประเภทต้มส้ม เป็นต้น ในปี 2545 มีรายงานการแยก 31.2 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และมีรายงานว่าสาร
สารกรดอินทรีย์ (organic acids) จากสารสกัดด้วย กลุ่มฟีนอลิกในสารสกัดเอทานอล จากใบชะมวงมี
[7]
น�้าของใบชะมวง พบกรดอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
หลัก คือ (-)-hydroxycitric acid ในใบ ผล และ ปัจจุบันประชาชนมีการบริโภคใบชะมวงอย่าง
เปลือกชะมวง โดยมีปริมาณเท่ากับ 1.7%, 2.3% และ แพร่หลาย และจากข้อมูลการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
[3]
12.7% ตามล�าดับ ต่อมามีรายงานการศึกษาฤทธิ์ทาง แสดงถึงฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจหลายชนิด แสดง
ชีวภาพของใบชะมวง พบว่าสารสกัดจากใบชะมวงมี ถึงศักยภาพของพืชสมุนไพรชนิดนี้ที่สามารถน�าไป
ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ และฤทธิ์ลดไขมันในหลอด พัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ยา หรือผลิตภัณฑ์เสริม
ทดลอง สามารถยับยั้งการดูดซึมคอเลสเตอรอลเข้า อาหารเพื่อช่วยป้องกัน หรือรักษาโรคได้ ซึ่งการน�า
สู่เซลล์คาโค 2 (Caco-2) ได้ 14.6% ยับยั้งการท�างาน สมุนไพรไปพัฒนาต่อยอดดังกล่าว องค์การอนามัย
[8]
ของเอนไซม์ไฮดรอกซีเมทิลกลูตาริลโคเอนไซม์เอ โลก ได้ให้ความส�าคัญเรื่องการควบคุมคุณภาพของ
รีดักเตส (hydroxy-methylglutaryl-coenzyme A สมุนไพรก่อนน�าสมุนไพรมาใช้เป็นยาให้มีประสิทธิผล
reductase) ได้ 97.06% และยับยั้งการท�างานของ ในการรักษาที่ดี มีความปลอดภัยในการใช้และมี
เอนไซม์แพนคริเอติกไลเปส (pancreatic lipase) ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ควรทราบรายละเอียดเกี่ยวกับ
ด้วยค่า IC 50 196.60 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และพบ สมุนไพร ตามหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ ความรู้ทั่วไปเกี่ยว
สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ซีไกลโคไซน์ (flavonoid C- กับสมุนไพร ข้อก�าหนดคุณภาพ ข้อบ่งใช้ ความเป็น
glycoside) 2 ชนิด คือ ไวเทกซิน (vitexin) และ พิษ ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง รวมทั้งรูปแบบและขนาด
โอเรียนทิน (orientin) และสารกลุ่มสเตียรอยด์ (ste- ที่ใช้ เพื่อให้ได้ยาที่มีคุณภาพสม�่าเสมอทุกครั้งที่มีการ
roids) ได้แก่ เบต้า-ซิโตสเตอรอล (beta-sitosterol) ผลิตและมีความปลอดภัย
[4-5]
เป็นองค์ประกอบ ในปี 2555 มีรายงานการศึกษา เนื่องจากยังไม่มีข้อก�าหนดมาตรฐานเพื่อใช้ใน
ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและการแยกสารจากใบชะมวง การควบคุมคุณภาพของใบชะมวงในประเทศไทย
พบว่าสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากสารสกัดด้วยเอทิล- การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีตรวจ
อะซีเตต (ethyl acetate) จากใบชะมวง ได้แก่ เอกลักษณ์ทางเคมี ประเมินคุณลักษณะทางเคมี
โพลีพรีนิวเอทเบนโซฟรีโนน (polyprenylated กายภาพและวิเคราะห์หาปริมาณสารส�าคัญของใบ
benzophenone) และชะมวงโอน (chamuangone) ชะมวง ผลของการศึกษา สามารถน�าไปสู่การก�าหนด
มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pyo- มาตรฐานคุณภาพของสมุนไพรชนิดนี้ต่อไป
genes โดยมีความเข้มข้นต�่าสุด (MIC) เท่ากับ 7.8
ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย Strep- ระเบียบวิธีศึกษ�
tococcus viridans และ Helicobacter pylori มี 1. วัสดุ
MIC เท่ากับ 15.6 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และฤทธิ์ต้าน 1.1 ตัวอย่างสมุนไพร
เชื้อแบคทีเรีย Strephylococcus aureus, Bacillus ตัวอย่างวัตถุดิบใบชะมวงสด จ�านวน 17