Page 84 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 84
314 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
Herbal Pharmacopoeia) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ต่อ ตำารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับพุทธศักราช 2561
มาในปี พ.ศ. 2560 กรมการแพทย์แผนไทยและการ จำานวน 100 ตำารับ จากนั้นการสืบค้นข้อมูลตามเกณฑ์
แพทย์ทางเลือกได้จัดทำาตำารามาตรฐานตำารับยาแผน คัดเลือก หากมีข้อมูลจะได้คะแนน หากไม่มีข้อมูล
ไทย (Thai Herbal Preparation Pharmacopoeia) จะไม่ได้คะแนน ทำาให้ได้ตำารับยาที่มีการใช้อยู่แล้ว
ซึ่งที่ผ่านมามีการใช้ข้อมูลดังกล่าวในเชิงวิชาการ หาก หรือเป็นตำารับยาที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี
จะนำาการควบคุมคุณภาพของตำารับยาแผนไทยและ ยาจากสมุนไพรหรือยาสามัญประจำาบ้านแผนโบราณ
วัตถุดิบไปใช้ในเชิงนโยบายควรทำาอย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นตำารับยาที่มีงานวิจัยทางคลินิก จึงมีข้อมูลด้าน
โดยควรมีการเก็บข้อมูลตำารับยาแผนไทยที่นิยมขอ ประสิทธิศักย์ ความปลอดภัย และการควบคุม
อนุญาตทะเบียนยาแผนไทยแบบจดแจ้ง และตำารับ คุณภาพ ดังนั้นหากต้องการให้มียาแผนไทยที่มี
ยาที่แนวโน้มจะส่งออกต่างประเทศได้ เพื่อพัฒนา ศักยภาพทั้งด้านประสิทธิศักย์และการตลาด การคัด
[26]
ศักยภาพของผู้ผลิตวัตถุดิบและยาสำาเร็จรูป และ เลือกตำารับยาควรทำาในเชิงรุก กล่าวคือ จัดให้กลุ่มผู้
จัดทำาข้อกำาหนดของการควบคุมคุณภาพที่สอดคล้อง มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีโอกาสเสนอตำารับยา โดยอาจ
กับความต้องการของตลาด นอกจากนี้ควรส่งเสริม เริ่มจากกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยและ
ให้มีห้องปฏิบัติการที่มีมาตรฐานอย่างเพียงพอเพื่อ กลุ่มภาคอุตสาหกรรม โดยตำารับยาแผนไทยที่เสนอ
ให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพของยาแผนไทยที่ ควรเป็นตำารับยาที่มีผลการรักษาที่ดี ตอบสนองต่อ
ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงได้ในราคาที่สมเหตุผล ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ และมีการใช้อย่าง
กลุ่มผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทำาเกณฑ์ กว้างขวาง แต่ขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อส่งเสริม
การคัดเลือกตำารับยาเข้าสู่รายการมาตรฐาน (posi- และสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยทั้งด้านประสิทธิศักย์
tive list) มีความหลากหลายน้อยกว่าผู้มีส่วนร่วม ความปลอดภัย และการควบคุมคุณภาพควบคู่กัน
ในการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้หลักประกัน เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการเสนอตำารับยา รวมทั้งมี
สุขภาพถ้วนหน้า และการคัดเลือกยาแผนปัจจุบัน การวางแผนเกี่ยวกับวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และ
[27]
เข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ โดยขาดกลุ่มคนจาก การตลาดในประเทศและต่างประเทศให้ครบทั้งวงจร
[5]
ภาคอุตสาหกรรม ภาคประชาสังคม หรือกลุ่มผู้ป่วย
แต่ความเข้าใจและบริบทของยาแผนไทยต่างจากยา ข้อเสนอแนะเชิงนโยบ�ย
แผนปัจจุบัน การเพิ่มกลุ่มผู้มีส่วนร่วมควรเป็นกลุ่มที่ หน่วยงานให้ทุนวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
มีความเข้าใจและมีความพร้อม โดยควรเพิ่มกลุ่มภาค ควรพัฒนาเกณฑ์คัดเลือกหัวข้อวิจัยที่เป็นระบบ
อุตสาหกรรม เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีความเข้าใจและมี และตรงกับความต้องการของผู้ประกอบวิชาชีพทั้ง
ความสำาคัญในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยาแผนไทย การแพทย์แผนไทย แพทย์แผนปัจจุบัน ประชาชน
ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ แล้วจึงค่อย ๆ เพิ่ม ผู้ประกอบการ และแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
ให้ครอบคลุมกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด [9] ซึ่งจะสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสามารถนำา
การคัดเลือกตำารับยาแผนไทยในครั้งนี้เป็นการ ข้อมูลมาใช้จัดทำารายการมาตรฐาน (positive list)
คัดเลือกในเชิงรับ โดยคัดเลือกตำารับยาจากรายการ คณะกรรมการจัดทำาฯ ควรส่งรายการวัตถุดิบ