Page 80 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 80

310 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




                  2) ตำารับยาต้องระบุรายละเอียดสูตรส่วน  เศรษฐกิจของครัวเรือน ผลการประเมินมีแนวโน้มถูก
           ประกอบ กรรมวิธีการผลิต ข้อบ่งใช้ที่เหมาะสม มี  นำาไปใช้ในเชิงนโยบาย ไม่เคยมีผู้ทำาวิจัยเช่นนี้มาก่อน

           ขนาดรับประทานตามที่กำาหนดและแสดงข้อมูลด้าน  ในประเทศไทย ระดับความสามารถในการวิจัย ค่าใช้
           ความปลอดภัย เช่น ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง โดย  จ่ายของนโยบาย/เทคโนโลยี/ยา และการยอมรับของ
           พิจารณาจากตำาราและองค์ความรู้เดิมทางการแพทย์  นโยบาย/เทคโนโลยี/ยา

           แผนไทยและประสบการณ์การใช้ยา                     เกณฑ์การคัดเลือกตำารับยาในรายการมาตรฐาน
                                                       มีจำานวน 10 เกณฑ์ ดังนี้ 1) ที่มาของสูตรตำารับเป็น
           2. ก�รจัดทำ�ร�ยก�รม�ตรฐ�น                   ไปตามตำาราโบราณและมีสูตรส่วนประกอบชัดเจน


                รายการมาตรฐานถูกดำาเนินการโดยคณะ       2) มีความปลอดภัย 3) มีประสิทธิผล 4) สรรพคุณ
           กรรมการจัดทำาข้อมูลรายการมาตรฐาน (positive   เป็นไปตามที่สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
           list) ประกอบด้วยกลุ่มผู้บริหาร จำานวน 5 คน กลุ่ม  อนุญาตและผู้บริโภคสามารถเข้าใจได้ 5) แก้ไขปัญหา

           นักวิชาการ จำานวน 14 คน ผู้แทนจากสภาการแพทย์  สาธารณสุข 6) เป็นที่สนใจของตลาดหรือผู้บริโภค
           แผนไทย จำานวน 1 คน และกลุ่มงานสนับสนุนการ   7) เป็นตำารับที่ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยมี

           ขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย สถาบัน  ความต้องการ 8) กรรมวิธีการผลิตเป็นไปตามโบราณ
           การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและ         และระบุวิธีสะตุตัวยาชัดเจน 9) สมุนไพรจัดหาได้ใน
           การแพทย์ทางเลือก เป็นฝ่ายเลขานุการฯ โดยคณะ  ประเทศ และ 10) จำานวนสมุนไพรต่อตำารับไม่มาก

           กรรมการจัดทำาฯ มีหน้าที่จัดทำาหลักเกณฑ์ แนวทาง   ชนิด
           เตรียมข้อมูล และจัดทำารายการมาตรฐาน และมีคณะ     คณะกรรมการจัดทำาข้อมูลฯ ได้คัดเกณฑ์การ

           อำานวยการจัดทำาข้อมูลรายการมาตรฐาน (positive   คัดเลือกตำารับยาแผนไทยและแบ่งออกเป็น 4 เกณฑ์
           list) ทำาหน้าที่พิจารณากลั่นกรองในขั้นตอนสุดท้าย  หลัก จากนั้นได้กำาหนดคะแนนการคัดเลือก และให้
                                                        ้
                2.1 เกณฑ์คัดเลือกตำารับยาแผนไทยในรายการ  นำาหนักความสำาคัญของเกณฑ์ดังนี้
           มาตรฐาน                                         1.  ประสิทธิศักย์ (efficacy) ของตำารับ มีนำ้า

                จากการทบทวนวรรณกรรมและสรุปหลักเกณฑ์    หนักความสำาคัญร้อยละ 30 มีคะแนนเต็ม 2 คะแนน
           การคัดเลือกที่ใช้จัดลำาดับความสำาคัญด้านสุขภาพ   โดยการพิจารณาประสิทธิศักย์ของตำารับยาแผนไทย

           (ตารางที่ 1) และเกณฑ์การคัดเลือกยาแผนปัจจุบัน  จาก 1) หลักฐานการวิจัยคลินิก ที่เป็นการศึกษา
           และยาแผนโบราณในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยไม่   ประสิทธิศักย์ตามหลักวิชาการและตำารับยามีประสิทธิ
           เลือกเกณฑ์การคัดเลือก จำานวน 9 เกณฑ์ เนื่องจาก    ศักย์ และ 2) หลักฐานการใช้สืบต่อกันมาเป็นระยะ

           1) มีข้อจำากัดด้านความเพียงพอของข้อมูล ได้แก่ ความ   เวลานาน ซึ่งอ้างอิงจากองค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า
           คุ้มค่า และความยั่งยืน และ 2) ไม่สอดคล้องกับบริบท  ยาแผนโบราณที่มีมายาวนานและมีตำารับยาเพื่อใช้ใน

           การจัดทำาข้อมูลรายการมาตรฐาน ได้แก่ ความแตก  ประเทศนั้น ๆ อาจไม่จำาเป็นต้องทำาวิจัยประสิทธิศักย์
           ต่างในทางปฏิบัติ/มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ  ได้ [17]
           หรือมีความไม่เสมอภาคระหว่างผู้ป่วย ผลกระทบทาง     2.  ความปลอดภัย (safety) มีนำ้าหนักความ
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85