Page 79 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 79
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 309
ยาเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ข้อมูลที่ใช้ 2556 [14-15] ได้ใช้เกณฑ์ ISaFE scores ร่วมกับผล
ในการตัดสินใจต้องมีหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อให้เกิด การศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อประเมิน
ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบการตัดสินใจของ ต้นทุน-ประสิทธิผลของยา (cost-effectiveness)
ผู้บริหารได้ และผลกระทบเชิงงบประมาณ (budget impact)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 มีการปรับปรุงเกณฑ์การ สำาหรับควบคุมค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพให้สอดคล้องกับ
[13]
คัดเลือกรายการยาเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ โดย งบประมาณของประเทศ
เพิ่มเกณฑ์ที่ใช้หลักฐานวิชาการมากขึ้นคือ เกณฑ์ 1.3 การคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ISaFE scores มีทั้งหมด 6 หัวข้อ ในแต่ละหัวข้อมี บัญชียาจากสมุนไพร
คะแนนเต็ม 1 แล้วนำาคะแนนทั้งหมดมาคูณกัน จาก บัญชียาจากสมุนไพรถูกบรรจุในบัญชียาหลัก
[16]
นั้นคัดเลือกยาที่มีคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับค่า แห่งชาติเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 การคัดเลือก
มัธยฐาน (percentile 50) การพิจารณาคะแนนแต่ละ ยาจากสมุนไพรดำาเนินการโดยคณะทำางานคัดเลือกยา
เกณฑ์มีดังนี้ จากสมุนไพรบรรจุในบัญชียาหลักแห่งชาติ ประกอบ
ปริมาณข้อมูลทางวิชาการ (information) คือ ด้วย แพทย์ เภสัชกร นักวิชาการ นักเภสัชวิทยา บัญชี
หลักฐานที่สนับสนุนการใช้ยา โดยพิจารณาทั้งปริมาณ ยาจากสมุนไพรแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ยาแผน
ของข้อมูลและคุณภาพของข้อมูล เช่น การศึกษาแบบ ไทยและยาพัฒนาจากสมุนไพร และมีเกณฑ์การคัด
meta-analysis จะได้คะแนนมากที่สุด เลือกยาแผนไทยคือ เป็นยาที่ใช้ในมนุษย์อย่างแพร่
ด้านประสิทธิผลความปลอดภัย (safety) หลายมาแต่ดั้งเดิม มีประสิทธิผลตามสรรพคุณใน
พิจารณาจากความปลอดภัยจากการใช้ยา ซึ่งความ ตำาราที่รัฐมนตรีประกาศและต้องแสดงข้อมูลเกี่ยว
เสี่ยงจากการใช้ยาต้องน้อยกว่าประโยชน์ที่ได้ กับความปลอดภัย ที่มาจากตำารา ประสบการณ์การ
ความสะดวกในการใช้ยา (ease of use: ใช้ยา มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงว่ามีความ
administration restriction and frequency of ปลอดภัย ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2559 คณะทำางานผู้เชี่ยวชาญ
dose) พิจารณาจากข้อจำากัดการใช้ยาและจำานวน แห่งชาติด้านการคัดเลือกยาจากสมุนไพรได้ใช้เกณฑ์
ครั้งการใช้ยา การคัดเลือกยาจากสมุนไพรเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติ
[5]
ประสิทธิผลทางคลินิก (efficacy) พิจารณา สำาหรับยาแผนไทยดังนี้
ข้อมูลประสิทธิผลจาก Micromedex จากนั้นนำา 1) ลักษณะของตำารับยาเป็นตำารับยาตาม
ประสิทธิผลของผู้ใหญ่และเด็กมาหาค่าเฉลี่ย ตำาราที่รัฐมนตรีประกาศ หรือตำารับยาเตรียมขึ้นตาม
ทั้งนี้ได้ใช้เกณฑ์ EMCI (Essential Medicine องค์ความรู้การแพทย์แผนไทยและมีการใช้แพร่หลาย
Cost Index) ซึ่งเป็นการคิดต้นทุนตามความแรงของ อย่างน้อยสองชั่วอายุคน (50 ปี) หรือตำารับยาเตรียม
ยาที่ใช้แต่ละวัน [Daily Defined Dose (DDD)] เพื่อ ขึ้นตามองค์ความรู้การแพทย์แผนไทยมีการใช้จน
ตัดสินใจในการคัดเลือกยาเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นที่ยอมรับหรือมีการใช้ในสถานพยาบาลติดต่อ
และไม่ให้มีภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมากเกินไป กันอย่างน้อย 10 ปี หรือมีข้อมูลการใช้ยากับผู้ป่วยใน
ต่อมาการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. โรงพยาบาลไม่น้อยกว่า 1,000 คน