Page 89 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 89
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 319
ผาสุก และวิถีการดำาเนินชีวิตที่ดีของมนุษย์ การนอน ทางการแพทย์แผนไทย ใบกัญชามีสรรพคุณรักษา
หลับที่ไม่เพียงพอและไม่มีคุณภาพมีความสัมพันธ์ โรคหืด ยอดอ่อน รักษาโรคเกี่ยวกับประสาท ระงับ
กับสุขภาพทางกายที่ไม่แข็งแรง อ่อนล้า ง่วงนอนตอน ประสาท ทำาให้นอนหลับแก้อักเสบ ระงับปวด แก้ปวด
[7]
กลางวัน ภูมิคุ้มกันลดลง และส่งผลต่อสุขภาพจิต มี ท้องและท้องร่วง การใช้กัญชาในการแพทย์แผน
ความสัมพันธ์เชิงลบกับการเข้าสังคม ความสามารถ ไทยต้องหยุดลงเมื่อกัญชาถูกจัดให้เป็นยาเสพติด
ในการจัดการปัญหา การตอบสนองต่อสิ่งต่าง ๆ ลด ประเภท 5 มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จาก พ.ร.บ. ยาเสพ
ลง ความจำาลดลง ขาดสมาธิ และหงุดหงิดง่าย [2] ติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เป็นเวลากว่า 40 ปี ทำาให้องค์
ภาวะนอนไม่หลับเป็นปัญหาการนอนที่พบบ่อย ความรู้ในการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทยขาดการ
ที่สุด ซึ่งพบว่าประชากรในวัยผู้ใหญ่ประมาณร้อยละ สืบทอดอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งมีการแก้ไขกฎหมาย
30 จะต้องเคยประสบกับภาวะนี้ในช่วงเวลาใดเวลา พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ทำาให้
หนึ่งของชีวิต บางคนอาจเป็นแค่ชั่วครั้งชั่วคราว แต่ก็ สามารถใช้ประโยชน์จากกัญชาทางการแพทย์และการ
มีบางส่วนที่มีภาวะนอนไม่หลับเรื้อรัง และมีถึงร้อยละ ศึกษาวิจัยได้
10 ที่ภาวะนอนไม่หลับนี้ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน ในปี 2562 กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการ
รวมไปถึงส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำาวัน จน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีนโยบาย
ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคนอนไม่หลับ (insomnia ให้นำาตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมมาใช้ในการ
[3]
disorder) ในผู้สูงอายุนั้นภาวะนอนไม่หลับสามารถ ให้บริการ ดูแลรักษาสุขภาพของประชาชน โดยได้คัด
พบได้สูงถึงเกือบร้อยละ 50 ทั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากมี เลือกตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมจำานวนทั้ง
้
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับ สิ้น 16 ตำารับประกอบด้วย 1. ศุขไสยาศน์ 2. นำามัน
การนอนหลับ เช่น มีการสร้างฮอร์โมนเมลาโตนินที่ สนั่นไตรภพ 3. ยาทำาลายพระสุเมรุ 4. ยาทัพยาธิคุณ
[4]
ลดลง ส่งผลทำาให้วงจรการหลับ-การตื่น (sleep- 5. ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง 6. ยาแก้นอนไม่หลับ /ยาแก้ไข้
wake cycle) เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ การศึกษา ผอมเหลือง 7. ยาไพสาลี 8. ยาทาริดสีดวงทวารหนัก
ในต่างประเทศยังพบว่ามีปัจจัยอื่นที่มีความสัมพันธ์ และโรคผิวหนัง 9. ยาแก้ลมแก้เส้น 10. ยาอไภยสาลี
กับคุณภาพการนอน ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา โรค 11. ยาอัมฤตโอสถ 12. ยาแก้โรคจิต 13. ยาแก้สัณฑ-
ประจำาตัว ครอบครัวที่ผู้สูงอายุอาศัยร่วมด้วย รวมถึง ฆาต กล่อนแห้ง 14. ยาอัคคินีวคณะ 15. ยาแก้ลม
ปัจจัยทางด้านจิตใจ และระดับการรู้คิด (cognition) เนาวนารีวาโย และ 16. ยาไฟอาวุธ [8]
ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นจากภาวะนอนไม่หลับ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีการ
เป็นปัญหาที่สำาคัญและสามารถพบได้ในวัยทำางานและ รวบรวมและบันทึกตำารายาที่หมอหลวงหรือหมอ
[5]
พบได้มากขึ้นวัยสูงอายุ ต่างชาติปรุงถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่ง
ในประเทศไทย คนไทยใช้กัญชาทางการแพทย์ ประกอบด้วยตำารับยาจำานวน 81 ขนาน ซึ่งหนึ่งในนั้น
มามากกว่า 300 ปี ดังหลักฐานที่ปรากฎในตำารา คือตำารับยาศุขไสยาศน์ เป็นขนานที่ 44 มีส่วนประกอบ
พระโอสถพระนารายณ์ ซึ่งนิยมนำาส่วนช่อดอก ของสมุนไพรทั้งหมด 12 ชนิด โดยส่วนประกอบหลัก
[6]
ตัวเมีย (กะหลี่กัญชา) และใบมาใช้ในการรักษาโรค เป็นใบกัญชา 12 ส่วน และส่วนประกอบอื่น ๆ ได้แก่