Page 198 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 198

180 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           บ้าน เพื่อซักถามอาการจากผู้ป่วย และมีแนวทางการ  สร้างความไว้ใจให้กับผู้ป่วยและตัวผู้ป่วยเองก็เชื่อใน
           ประเมินผลการรักษา ดังนี้                    สิ่งที่หมอพื้นบ้านแนะนำา ดังนั้นในกระบวนการรักษา

                  (1) ประเมินจากผู้ป่วยไม่มีอาการปวดหลัง  โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะของหมอพื้นบ้าน จึง
           หรือปวดร้าวลงขา                             มีความสำาคัญที่จะต้องศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
                  (2) ปัสสาวะเป็นปกติ สะดวก ไม่แสบขัด  และที่สำาคัญในกระบวนการรักษาต่าง ๆ เหล่านี้ ยัง
                9) การบันทึกข้อมูลการรักษาผู้ป่วย      ไม่มีการจดบันทึกและไม่มีผู้สืบทอดภูมิปัญญาของ

                ผู้ป่วยของหมอเขียน เขื่อนทอง ไม่มีการจด  หมอพื้นบ้าน จึงอาจทำาให้ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน
           บันทึกประวัติการเจ็บป่วย เนื่องจากไม่มีผู้มาสืบทอด  สูญหายได้

           องค์ความรู้ และหมอพื้นบ้านได้รับการสั่งสอนให้จำา     ส่วนที่ 3 สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคนิ่วในระบบ
           มากกว่าจด จึงไม่เห็นถึงความสำาคัญของการบันทึก  ทางเดินปัสสาวะของหมอพื้นบ้าน
           ข้อมูล แต่หมอเขียน เขื่อนทอง มีแนวความคิดที่จะ     1) ยาสมุนไพรที่ใช้รักษาโรคนิ่วในระบบทาง

           จัดทำาเวชระเบียน เพื่อศึกษาอาการเจ็บป่วยของผู้มา  เดินปัสสาวะ
           ใช้บริการแต่ละราย                               ยาสมุนไพรที่หมอเขียน เขื่อนทอง ใช้รักษานิ่ว

                จากการศึกษากระบวนการรักษาโรคนิ่วในระบบ  ในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นยาตำารับยาต้ม ที่เป็น
           ทางเดินปัสสาวะของหมอพื้นบ้าน เป็นการรักษาที่มี  สมุนไพรแห้ง มีส่วนประกอบของสมุนไพรทั้งหมด 11
           ความเฉพาะตัว โดยเริ่มจากการซักถามเรื่องความ  ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 1

           เป็นอยู่ การหลับนอน อาชีพที่ทำาอยู่ในปัจจุบัน การรับ     ตำารับยาสมุนไพรของ หมอเขียน เขื่อนทอง มี
           ประทานอาหาร ตลอดจนถามถึงญาติพี่น้อง เป็นการ  ตัวยาสมุนไพรที่สำาคัญหรือตัวยาหลักที่จะขาดไม่ได้

           ซักถามเพื่อให้ผู้ป่วยค่อย ๆ คลายความวิตกกังวล   ประกอบด้วย เดือยหินและหญ้าหนวดแมว ซึ่งเป็นตัว
           จากนั้นจึงซักถามอาการเจ็บป่วย ซึ่งแสดงให้เห็นถึง  ยาหลักในการรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
           การรักษาทางด้านจิตใจพร้อม ๆ กันกับการรักษาทาง     2) ส่วนที่ใช้ของยาสมุนไพรในตำารับ

           ร่างกายด้วย ในส่วนของกระบวนการรักษานั้น เป็น      มีการใช้ส่วนของสมุนไพรที่แตกต่างกัน
           กระบวนการที่ไม่ยุ่งยากหรือซับซ้อน เช่น การให้ยา  เนื่องจากแต่ละส่วนของสมุนไพร ให้ผลการรักษาที่
           สมุนไพรกับผู้ป่วยที่เป็นยาตำารับยาต้ม ซึ่งการใช้ยา  แตกต่างกัน ถ้าใช้ตรงกับส่วนของสมุนไพรในตำารับ

           สมุนไพรรักษาผู้ป่วย จะสัมพันธ์กับอาการและขนาด  จะส่งผลให้การรักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะได้
           ของก้อนนิ่ว โดยการติดตามและประเมินผลการรักษา  ผลดี โดยส่วนที่ใช้ประกอบด้วย 6 ส่วน ดังแสดงใน
           โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะหมอพื้นบ้าน จะเป็น  ตารางที่ 3

           ลักษณะการไปเยี่ยมญาติ คือ ไปเยี่ยมผู้ป่วยถึงที่     3) วิธีการปรุงยาสมุนไพร
           บ้าน หากผู้ป่วยอยู่ต่างถิ่นหรือห่างไกลจะฝากญาติพี่     ใช้สมุนไพรแห้งแต่ละชนิดผสมกัน ตามสูตร
                                                                                              ้
           น้องมาบอกแทน หรือแจ้งทางโทรศัพท์ ถามถึงอาการ  ตำารับที่ได้รับการสืบทอดมา และใช้วิธีการต้มในนำา
           เจ็บป่วยต่าง ๆ ให้คำาแนะนำาที่ต้องปฏิบัติตัวขณะ   สะอาด ในลักษณะต้มเคี่ยว คือ 3 ส่วน (ลิตร) ต้มเคี่ยว
           รับประทานยาสมุนไพร ซึ่งลักษณะดังกล่าวเป็นการ  ให้เหลือ 1 ส่วน (ลิตร) หรือต้มพอเดือด และให้ดื่ม
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203