Page 194 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 194

176 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           วิธีก�รศึกษ�                                    1)  การเตรียมความพร้อมในพื้นที่
                การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการ     ผู้วิจัยลงไปในพื้นที่ โดยให้ความรู้ และทำาความ

           วิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เพื่อศึกษา  เข้าใจ กับแนวทางการสัมภาษณ์เชิงลึก เกี่ยวกับการ
           ภูมิหลังของหมอเขียน เขื่อนทอง ศึกษากระบวนการ  เก็บข้อมูลภูมิหลัง กระบวนการรักษาโรคนิ่วในระบบ
           รักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะตามภูมิปัญญา  ทางเดินปัสสาวะ ของหมอพื้นบ้าน ตำารับยาสมุนไพร

           หมอเขียน เขื่อนทอง และศึกษาตำารับยาสมุนไพรของ  ที่ใช้รักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะของหมอ
           หมอเขียน เขื่อนทอง ในการรักษานิ่วในระบบทางเดิน  พื้นบ้าน หลังจากนั้นมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
           ปัสสาวะ โดยมีระยะเวลาในการศึกษาระหว่างเดือน  และปัญหาอุปสรรค จนผู้วิจัยกับหมอพื้นบ้านเข้าใจ

           พฤษภาคม 2560 – เดือนมีนาคม 2561             แนวทางการเก็บข้อมูลในทิศทางเดียวกัน
                หมอพื้นบ้านที่ผู้วิจัยนำามาเป็นกรณีศึกษา ได้     2)  การเก็บข้อมูลในพื้นที่
           จากการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (purposive      การเก็บข้อมูล จากหมอเขียน เขื่อนทอง โดย

           sampling) จำานวน 1 คน จากหมอพื้นบ้านในอำาเภอ  เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (in-depth
           สอง จังหวัดแพร่ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้าน  interviews) เพื่อศึกษาภูมิหลังของหมอพื้นบ้าน

           กับสำานักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ เป็นที่ยอมรับ  กระบวนการรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
           นับถือจากชุมชน และยังคงให้การรักษาผู้ป่วยอยู่อย่าง  ของหมอพื้นบ้านและตำารับยาสมุนไพรที่ใช้รักษาโรค
           ต่อเนื่อง โดยเกณฑ์การคัดเลือกแหล่งข้อมูลดังกล่าว   ของหมอพื้นบ้าน

           ผู้วิจัยได้ให้ความสำาคัญกับหมอพื้นบ้านเป็นหลัก โดย
           ได้กำาหนดคุณสมบัติของหมอพื้นบ้านที่เป็นตัวอย่าง  ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล

           ดังนี้คือ                                       ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ด้วยเหตุและผล
                1) ยินยอมเข้าร่วมโครงการ               โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ตาม
                2) มีประสบการณ์ในการรักษาอย่างน้อย 10 ปี  วัตถุประสงค์ ได้แก่ (1) ภูมิหลังของ หมอเขียน เขื่อน

                3) มีผลการรักษาเป็นที่ยอมรับ           ทอง (2) กระบวนการรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดิน
                4) ได้รับการสืบทอดภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษ   ปัสสาวะตามภูมิปัญญาหมอเขียน เขื่อนทอง และ
           จากการเรียนการสอนหรือจากการสั่งสมประสบการณ์  (3) ตำารับยาสมุนไพรของ หมอเขียน เขื่อนทอง ที่ใช้

                5) เป็นหมอพื้นบ้านรักษาโรคนิ่วในระบบทาง  รักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
           เดินปัสสาวะด้วยวิธีการใช้ยาสมุนไพร
                6) เป็นหมอพื้นบ้านที่ได้รับการขึ้นทะเบียนกับ        ผลก�รศึกษ�

           สำานักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่                   การศึกษาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน ในการรักษา
                                                       โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ กรณีศึกษาหมอเขียน
           วิธีก�รรวบรวมข้อมูล                         เขื่อนทอง หมอพื้นบ้านอำาเภอสอง จังหวัดแพร่ แบ่ง

                ผู้วิจัยได้กำาหนดขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล   เป็น 3 ส่วน ตามกรอบแนวคิด ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
           ดังนี้
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199