Page 195 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 195

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr  2021  177




                 ส่วนที่ 1 ภูมิหลังของหมอพื้นบ้าน       ของหมอเขียน เขื่อนทอง ยังพบว่ามีการใช้ภูมิปัญญา
                 1)  ข้อมูลทั่วไปของหมอพื้นบ้าน         ของหมอพื้นบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วยด้วย

                 หมอเขียน เขื่อนทอง เริ่มต้นการศึกษาด้วยการ  เช่น หมอเป่า หมอดูก (หมอรักษากระดูก) และหมอ
            บวชเป็นสามเณร ที่โรงเรียนวัด ทั้งในท้องถิ่นและใน  ยาสมุนไพร โดยมีชาวบ้านในหมู่บ้าน รวมถึงชาวบ้าน
            ต่างจังหวัด จบการศึกษาสูงสุดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3   ต่างถิ่น เดินทางมารักษาอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นถึง

            (ม.3) ซึ่งการเรียนรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านและ  ความเชื่อและความไว้วางใจ ในการรักษาของหมอพื้น
            สมุนไพร ของหมอพื้นบ้านนั้น เริ่มจากการเรียนที่  บ้านที่มีวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของชาวบ้าน
            โรงเรียนวัด ปัจจุบันหมอเขียน เขื่อนทอง มีอาชีพหลัก   เข้ามาเชื่อมโยงในความเป็นลักษณะเฉพาะของบริบท

            คือ ตัดเย็บเสื้อผ้า และเป็นหมอพื้นบ้านรักษาด้วยยา  ทางสังคม และวัฒนธรรมของชุมชน
            สมุนไพร                                          3)  สถานภาพและบทบาทของหมอพื้นบ้านต่อ
                 2)  บริบทของชุมชน                      ชุมชน

                 จากการศึกษาบริบททางสังคม และวัฒนธรรม        จากการศึกษาภูมิปัญญาของหมอเขียน เขื่อนทอง
            ในชุมชนของหมอเขียน เขื่อนทอง พบว่า ชุมชนมี  พบว่า เป็นบุคคลที่ประชาชนในชุมชนให้ความเคารพ

            ความเชื่อและยึดถือปฏิบัติในพิธีกรรมที่สำาคัญ ๆ ตาม  นับถือเป็นอย่างมาก นอกจากการเป็นหมอพื้นบ้านที่
            ลักษณะของภาคเหนือ เช่น ความเชื่อในผีบรรพบุรุษ   ใช้ความรู้ ความสามารถด้านยาสมุนไพรช่วยเหลือใน
            ประเพณีเกี่ยวกับการส่งเคราะห์ เป็นต้น ในหมู่บ้าน  การดูแลรักษาสุขภาพให้กับชาวบ้านแล้ว ยังเป็นผู้ให้

                                                        คำาแนะนำา ทั้งในด้านการพัฒนาชุมชนส่วนรวม อีกทั้ง
                                                        ยังเป็นครูสอนความรู้เรื่องสมุนไพร ให้แก่ผู้ที่มาขอคำา

                                                        แนะนำาหรือขอความรู้ โดยไม่ปิดบัง นอกจากนี้ หมอ
                                                        เขียน เขื่อนทอง ยังได้รับการยกย่อง ให้เป็นปราชญ์
                                                        ด้านวัฒนธรรมและหมอเมืองด้านสมุนไพร และหมอ

                                                        เขียน เขื่อนทอง ยังมีส่วนสำาคัญในการอนุรักษ์แหล่ง
                                                        กำาเนิดของพืชสมุนไพรในท้องถิ่นอีกด้วย
                                                             4)  การสืบทอดภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน

                                                             หมอเขียน เขื่อนทอง มีลักษณะการสืบทอด
                                                        ภูมิปัญญาการเป็นหมอพื้นบ้าน 3 ลักษณะ คือ
                                                               (1) การสืบทอดจากบรรพบุรุษ คือ มีการ

                                                        สืบทอดจากพ่อเนียม อินทร์ธราวุฒิ และ แม่บุญปั๋น
                                                        อินทร์ธราวุฒิ ซึ่งเป็นบิดาและมารดาของภรรยา

                                                               (2) การศึกษาจากตำารายาสมุนไพรโบราณ ซึ่ง
                                                        เป็นภาษาล้านนา เมื่อครั้งบวชเรียนที่วัด รวมถึงเรียน
                 ภาพที่ 1 หมอพื้นบ้าน หมอเขียน เขื่อนทอง  ในระบบหรือหลักสูตรแพทย์แผนไทยที่มีการเรียน
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200