Page 203 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 203

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr  2021  185



              ้
                            ้
            นำาสะอาด ห้ามดื่มนำาที่มีตะกอน งดอาหารหมักดอง     การใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคนิ่วในระบบ
            ระหว่างการรักษา ห้ามดื่มเหล้าหรือเครื่องดื่มมึนเมา   ทางเดินปัสสาวะของหมอพื้นบ้าน เป็นยาตำารับที่
                ้
            ดื่มนำาอย่างน้อย 5-6 แก้วต่อวัน แสดงให้เห็นว่า ระยะ  เป็นยาต้ม มีส่วนประกอบของสมุนไพร 11 ชนิด ยา
            เวลาและการรับประทานอาหาร มีผลต่อการรักษานิ่ว  สมุนไพรส่วนใหญ่หมอพื้นบ้านจะจัดเตรียมเอง
            ในระบบทางเดินปัสสาวะ สอดคล้องกับงานวิจัยของ   ทั้งหมด ตั้งแต่การเก็บยาสมุนไพร การแปรรูปด้วย

            ธรณัส ทองชูช่วย  นอกจากวิธีการรักษาโรคด้วยการ  การตากแดด และมีการใช้ส่วนต่าง ๆ ของสมุนไพรที่
                         [8]
            ใช้สมุนไพรของหมอพื้นบ้านแล้ว ก็ยังมีข้อห้ามหรือ   แตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละส่วนของสมุนไพรให้ผล
            ข้อแนะนำาให้ผู้ป่วยปฏิบัติ ในระหว่างการรักษาด้วย   การรักษาที่แตกต่างกัน ถ้าใช้ถูกส่วนของสมุนไพร

            เช่น การงดอาหารแสลงโรค ส่วนการติดตามผลของ   จะส่งผลให้การรักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะได้
                                                                                              [4]
            การรักษานั้น หมอพื้นบ้านจะให้ผู้ป่วยกลับมาบอก  ผลดี สอดคล้องกับงานวิจัยของรุจินาถ อรรถสิษฐ
            อาการด้วยตนเอง หรือบอกอาการผ่านญาติพี่น้อง  หมอพื้นบ้านมีการใช้สมุนไพรอยู่ 3 ลักษณะคือ การ

            มาบอกแทน หรือทางโทรศัพท์ ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ใน  ใช้ยาสมุนไพรแห้ง ยาสมุนไพรสด และปรุงเป็นยา
            หมู่บ้านเดียวกันหรือบริเวณใกล้เคียง หมอพื้นบ้าน  ตำารับ แต่ส่วนใหญ่พบว่าหมอพื้นบ้านไม่มีการบันทึก

            จะไปเยี่ยมที่บ้าน เพื่อซักถามอาการจากผู้ป่วยหรือ  ข้อมูล ชนิด ปริมาณ และมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร
            ญาติของผู้ป่วย ซึ่งหมอพื้นบ้านจะแสดงความเอาใจ  หมอพื้นบ้านจะใช้ยาสมุนไพรรูปแบบยาตำารับ มีการ
            ใส่ ห่วงใยเป็นกันเอง ทำาให้ผู้ป่วยเกิดขวัญและกำาลัง  ใช้ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และแร่ธาตุ โดยส่วนใหญ่

            ใจ และยังเกิดความผูกพันแน่นแฟ้นระหว่างผู้ป่วยกับ  เป็นพืชวัตถุ โดยแหล่งยาสมุนไพรที่หมอพื้นบ้านใช้
            หมอพื้นบ้าน นอกจากนี้การศึกษายังพบว่า หมอพื้น  รักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ ได้มาจาก 3 แหล่ง

            บ้าน ไม่มีการจดบันทึกประวัติการเจ็บป่วย เนื่องจาก  คือ ป่าธรรมชาติ สวนสมุนไพรที่ปลูกเองบริเวณรอบ
            ไม่มีผู้สืบทอดองค์ความรู้ และหมอพื้นบ้านได้รับการ  บ้าน ร้านขายยาสมุนไพรหรือร้านยาแผนโบราณ และ
            สั่งสอนให้จำามากกว่าจด จึงไม่เห็นถึงความสำาคัญของ  จากการวิเคราะห์เวลาในการเก็บยาสมุนไพรของหมอ

            การบันทึกข้อมูล สอดคล้องกับงานวิจัยของปิยนุช    พบว่า หมอพื้นบ้านจะเก็บยาสมุนไพรช่วงเช้า และเก็บ
                                        [6]
            ยอดสมสวย และสุพิมพ์ วงศ์ทองแท้  หมอพื้นบ้าน  สมุนไพรตามทิศ ซึ่งการเก็บสมุนไพรตามทิศ คือ ทิศ
            มักไม่มีการรวบรวม หรือบันทึกองค์ความรู้เก็บไว้   เหนือเก็บวันพฤหัสบดี ทิศตะวันออกเก็บวันอาทิตย์

            ทำาให้องค์ความรู้ดังกล่าวอาจสูญหายไปพร้อมกับ  กับอังคาร ทิศใต้เก็บวันพุธกับศุกร์ ทิศตะวันตกเก็บ
            หมอพื้นบ้าน เพราะนอกจากไม่มีการบันทึกข้อมูลเก็บ  วันเสาร์กับจันทร์ เพราะเชื่อว่าจะทำาให้การรักษาโรค
            ไว้แล้ว ยังไม่มีผู้สืบทอดความรู้ หมอพื้นบ้านบางท่าน  ได้ผลดี และตัวยาสมุนไพรมีฤทธิ์แรง ให้ผลการรักษา

            เชื่อว่า หากถ่ายทอดความรู้ไปแล้วจะเป็นอันตรายกับ  ที่ดี แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงภูมิปัญญาการใช้
            ตัวเอง ประกอบกับคนรุ่นใหม่ไม่ให้ความสนใจวิธีการ  สมุนไพรกับธรรมชาติ และการปรับตัวของหมอพื้น

            รักษาแบบพื้นบ้านมากนัก และไม่สนใจที่จะเรียนรู้ ซึ่ง  บ้าน ที่มีความพยายามในการอนุรักษ์สมุนไพร เพื่อให้
            หากเป็นเช่นนี้การแพทย์พื้นบ้านคงเสื่อมคุณค่า และ  มีการดำารงอยู่ของภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน สอดคล้อง
                                                                                 [4]
            สูญสิ้นไปในที่สุด                           กับงานวิจัยของ รุจินาถ อรรถสิษฐ  หมอพื้นบ้านหรือ
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208