Page 202 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 202

184 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           การสืบทอดภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน มีการสืบทอด  มีจิตใจแน่วแน่ ละเว้นจากกิเลสทั้งปวง คือ รัก โลภ
           มาจากบรรพบุรุษ ครูบาอาจารย์ ประกอบกับการเรียน  โกรธ หลง และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธรณัส

                                                               [8]
           รู้เพิ่มเติมจากหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนที่เป็น  ทองชูช่วย  หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ เป็น
           ระบบ แสดงให้เห็นถึงการสืบทอดภูมิปัญญา ที่มาจาก  ที่รู้จักของคนในชุมชน มีอุปนิสัยดี ลักษณะจิตใจดี
           ความเชื่อ และความสามารถของหมอพื้นบ้าน แตก   มีเมตตากรุณา เอาใจใส่ผู้ป่วยดี มีศีลธรรม และไม่

           ต่างกันตามบริบทของหมอพื้นบ้านแต่ละคน ซึ่งส่วน  เรียกร้องค่ารักษาหรือค่าตอบแทนที่มากเกินควร หรือ
           ใหญ่จะสืบทอดภูมิปัญญาในลักษณะประสบการณ์     บางครั้งไม่เรียกค่ารักษาเลยก็มี จึงทำาให้เป็นที่เคารพ
           ตรง สอดคล้องกับงานวิจัยของ คูณ เครือวรรณ    นับถือของผู้ป่วย และคนในชุมชน
                                                  [5]
           หมอพื้นบ้านที่ยังคงมีอยู่ในภาคอีสาน ส่วนในด้าน     หมอพื้นบ้านมีการตรวจวินิจฉัย มีวิธีการรักษา
           กระบวนการสืบทอดของหมอพื้นบ้าน พบว่าได้รับการ  และรูปแบบการรักษา ที่ชัดเจน ด้วยการใช้ยาสมุนไพร
           ถ่ายทอดมาจากบรรพชน ครู อาจารย์ วัด สำานัก ตำารา  ร่วมกับการใช้คาถา มีการตรวจวินิจฉัยโรคที่เป็น

           ใบลานและเกิดจากประสบการณ์ตรง สอดคล้องกับ    ลักษณะเฉพาะของหมอพื้นบ้าน ด้วยวิธีการซักถาม
           งานวิจัยของ ปิยนุช ยอดสมสวย และ สุพิมพ์ วงษ์ทอง  ประวัติอาการเจ็บป่วยเป็นหลัก ในลักษณะแบบองค์

           แท้  การสืบทอดภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านส่วนใหญ่  รวม เป็นการเชื่อมโยงให้เห็นถึงความเจ็บป่วย ที่มี
              [6]
           เป็นวิธีการสืบทอดมาจาก บรรพบุรุษ ครูบาอาจารย์   ส่วนเกี่ยวข้องกับประเพณีและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นจุด
           โดยการบอกเล่าจากปากต่อปาก และประสบการณ์     เด่นอีกประการหนึ่งของหมอพื้นบ้าน สอดคล้องกับ

           ตรง ไม่มีการจดบันทึก วิธีการรักษามีการใช้สมุนไพร   งานวิจัยของพรพักตร์ สุรำาไพ  ที่สรุปไว้ว่า หมอพื้น
                                                                             [9]
           ไสยศาสตร์ ในการรักษา หมอพื้นบ้านส่วนใหญ่ ได้  บ้านมีองค์ความรู้ ความสามารถ ในด้านต่าง ๆ ทั้งด้าน

           รับการสืบทอดความรู้ และประสบการณ์ ในการรักษา  ความรู้เกี่ยวกับยาสมุนไพร สรรพคุณของยาสมุนไพร
           โรค มาจากบรรพบุรุษ ซึ่งเคยเป็นที่ยอมรับของคนใน  ความสามารถในการตรวจวินิจฉัยโรค ประสิทธิผล
           ชุมชนมาก่อน สามารถรักษาโรคได้หลายโรค และ    การรักษาโรค ด้วยการนวดและการใช้สมุนไพร และ

           มีบทบาทเป็นผู้นำาในด้านต่าง ๆ ของชุมชน จึงทำาให้  การติดตามเอาใจใส่ต่อผลการรักษา นอกจากนั้น
           เกิดการยอมรับ เชื่อถือ และศรัทธา ของผู้ป่วยและ  การรักษาของหมอพื้นบ้าน มีการซักประวัติ การตรวจ
           คนในชุมชน การปฏิบัติตนที่เกี่ยวกับความเชื่อหรือ  ร่างกาย ตรวจอาการปวดหรืออวัยวะที่ปวด เพื่อให้การ

           ข้อบังคับในการเป็นหมอพื้นบ้าน มีข้อปฏิบัติอย่าง  รักษาได้ตรงจุด การให้การรักษาด้วยการใช้สมุนไพร
           เคร่งครัดเกี่ยวกับการละเว้นสิ่งมึนเมาและสิ่งเสพติด  ทำาให้เกิดการดำารงอยู่ของการแพทย์พื้นบ้าน ในการ
           ต่าง ๆ การนับถือหรือบูชาบรรพบุรุษ การรักษาศีล   ดูแลสุขภาพของชุมชน ในส่วนของระยะเวลาการรักษา

           5 ซึ่งการปฏิบัติตนของหมอพื้นบ้าน เป็นการได้รับ  และผู้ป่วยที่ห้ามรักษาของหมอพื้นบ้าน ผู้ป่วยแต่ละ
           การสั่งสอนมาจากบรรพบุรุษ ที่ต้องยึดถือการรักษา  รายจะใช้ระยะเวลาในการรักษาไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ

           ศีลอย่างเคร่งครัด เพื่อนำาไปปฏิบัติการเป็นหมอพื้น  ขนาดของนิ่ว และระยะเวลาที่เป็น นอกจากนี้ หมอพื้น
           บ้าน สอดคล้องกับงานวิจัยของฉันทนา กระภูฤทธิ์   บ้านยังให้ข้อแนะนำา หรือการปฏิบัติตัวหลังการรักษา
           และคณะ  หมอพื้นบ้านต้องมีคุณธรรม จริยธรรม   ซึ่งเป็นข้อห้ามและอาหารที่แสลงกับโรค เช่น ให้ดื่ม
                   [7]
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207