Page 200 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 200

182 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           ตารางที่ 3 ส่วนที่ใช้ของยาสมุนไพรในตำารับยาต้ม  นั้นหั่นเป็นชิ้นบาง ๆ หรือตามขนาดที่ต้องการ
                    สมุนไพรรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ         (2) แล้วนำาไปตากแดดจัดประมาณ 1–2 วัน
                    ของหมอเขียน เขื่อนทอง
                                                             (3) หลังจากนั้นนำามาอบซ้ำาในตู้อบอีก 2 วัน
            ส่วนที่ใช้   สมุนไพร                       โดยตู้อบสมุนไพรใช้พลังงานจากแก๊สหุงต้ม เพื่อให้
            ราก        เดือยหิน, กล้วยตีบ              ความร้อนในการอบสมุนไพร
            ใบ         ช้าพลู, พลูป่า, พลู                   (4) กรณีที่เป็นสมุนไพรที่ใช้ดอกหรือเกสร
            ทั้งต้น    บานไม่รู้โรยดอกขาว, หญ้าหนวดแมว,   ดอก ใช้วิธีการตากแดดเพียง 1 วัน จากนั้นจะผึ่งในที่
                       หญ้าพันงูแดง                    ลม เพื่อไม่ให้แห้งมากเกินไป
            เนื้อในฝัก   ราชพฤกษ์
            หัว/เหง้า   ข้าวเย็นเหนือ                        (5) เมื่อสมุนไพรแห้งดีแล้ว จะไว้ภาชนะ
            เนื้อไม้   ฝางเสน                          ที่เตรียมไว้ ส่วนใหญ่เก็บไว้ในปี๊บหรือในขวดโหล
                                                       พลาสติก

                5) ขั้นตอนการเก็บยาสมุนไพร                 8) ความเชื่อหรือข้อบังคับในการใช้ตำารับยา
                การเก็บยาสมุนไพรของหมอเขียน เขื่อนทอง มี  สมุนไพรรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ

           คาถาก่อนการเก็บยาสมุนไพรทุกครั้ง โดยจะมีคาถา     หมอเขียน เขื่อนทอง ไม่มีความเชื่อ หรือการ
           ปลุกยา เพื่อให้ตัวยานั้นสำาฤทธิ์ผล และให้ผู้ป่วยหาย  ปฏิบัติตนเป็นพิเศษ ในการใช้ตำารับยาสมุนไพร
           จากโรคที่เป็น คือ “โอม มหาปัจจะ โกมารภัจตัง โอสะ  รักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ แต่ต้อง

           ถัง อิทังคะเร’’ นอกจากนั้น หมอเขียน เขื่อนทอง จะ  อนุรักษ์สมุนไพรจากแหล่งธรรมชาติไว้ให้ได้มาก
           มีสิ่งที่ปฏิบัติทุกครั้งในการเก็บยาสมุนไพร คือ การนำา  ที่สุด และต้องมีการปลูกทดแทนเพื่อให้มีใช้ต่อในวัน

           เมล็ดของสมุนไพรหรือส่วนปักชำาได้ มาเพาะขยาย  ข้างหน้า
           พันธุ์ที่บ้าน จากนั้นเมื่อเมล็ดงอกเจริญเติบโตดีแล้ว      9) ปัญหาอุปสรรคในการเก็บยาสมุนไพร
           จึงนำาไปปลูกทดแทนในป่า                          ปัญหาอุปสรรคในการเก็บยาสมุนไพรของหมอ

                6) เวลาในการเก็บยาสมุนไพร              เขียน เขื่อนทอง พบว่า
                เวลาในการเก็บยาสมุนไพรเป็นช่วงเช้าและเก็บ       (1) ตัวยาสมุนไพรบางตัวหายาก บางชนิด
           ตามทิศ คือ ทิศเหนือเก็บวันพฤหัสบดี ทิศตะวันออก  ไม่มีในชุมชนหรือในป่าธรรมชาติ และต้องออกไปหา

           เก็บวันอาทิตย์กับอังคาร ทิศใต้เก็บวันพุธกับศุกร์    ยังต่างถิ่น หรือในป่าธรรมชาติที่ไกลออกไปมากกว่า
           ทิศตะวันตกเก็บวันเสาร์กับจันทร์  เพราะเชื่อว่า จะ  เดิม
           ทำาให้การรักษาโรคได้ผลดี และตัวยาสมุนไพรมี        (2) การซื้อสมุนไพรจากร้านขายยาสมุนไพร

           ฤทธิ์แรง                                    หรือร้านยาแผนโบราณ มีราคาแพง และพบสิ่ง
                7)  การแปรรูปยาสมุนไพร                 ปลอมปน หรือไม่สะอาด

                มีวิธีการแปรรูปสมุนไพรในตำารับอยู่หลายวิธี        (3) พืชสมุนไพรถูกกำาจัดมากขึ้น โดยการใช้
           คือ                                         สารเคมีกำาจัดวัชพืช
                  (1) นำาสมุนไพรสดล้างทำาความสะอาด จาก     การศึกษาสมุนไพรที่ใช้ในการรักษาโรคนิ่วใน
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205