Page 196 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 196

178 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           การสอนอย่างเป็นทางการ                           จากการศึกษาภูมิหลังของหมอพื้นบ้าน พบว่า
                  (3) จากประสบการณ์ที่หมอเขียน เขื่อนทอง    การเริ่มต้นที่จะเป็นหมอพื้นบ้าน ต้องมีความตั้งใจ

           ได้สั่งสมประสบการณ์ด้านสมุนไพร นับรวมแล้ว   ที่แนวแน่ มีจิตใจที่เมตตา เห็นได้จากการเข้ารับการ
           ประมาณ 22 ปี นอกจากนี้ยังอาศัยการสั่งสม     ศึกษาโดยการบวชเป็นสามเณร เพื่อขัดเกลาจิตใจให้มี
           ประสบการณ์จากการเรียนรู้ในป่าธรรมชาติ       เมตตา และเพิ่มความรู้ในเวลาเดียว การเป็นหมอพื้น

                การสืบทอดภูมิปัญญาก่อนการเป็นหมอพื้นบ้าน   บ้านของ หมอเขียน เขื่อนทอง แสดงให้เห็นถึงความ
           ของหมอเขียน เขื่อนทอง นั้น มีแรงจูงใจจากการสนใจ  เชื่อใจ และความไว้วางใจ ในการรักษาของหมอพื้น
           พืชสมุนไพร ตั้งแต่บวชเป็นสามเณร และได้ศึกษาองค์  บ้านที่มีวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของชาวบ้าน

           ความรู้ด้านพืชสมุนไพร มาอย่างต่อเนื่อง จนได้รับการ  เข้ามาเชื่อมโยงในความเป็นลักษณะเฉพาะของบริบท
           สืบทอดความรู้ด้านการวินิจฉัยและการรักษาโรคตาม  ทางสังคม และวัฒนธรรมของชุมชน นอกจากการเป็น
           องค์ความรู้ของการแพทย์ล้านนา ซึ่งตำาราที่ถ่ายทอด  หมอพื้นบ้านแล้ว ยังมีส่วนร่วม ด้านการช่วยเหลือ

           ต่อให้หมอเขียน เขื่อนทอง มีที่มาจากเจ้าหลวง   ชุมชน โดยเฉพาะการใช้ความรู้ด้านสมุนไพร ให้คำา
           เมืองแพร่ โดยมีข้อกำาหนด คือ ผู้ศึกษาต้องผ่านการ  แนะนำา หรือดูแลสุขภาพคนในชุมชน ตามบริบทของ

           บวชเป็นพระภิกษุมาก่อน อ่านและเขียนภาษาล้านนา   ชุมชน และตามความรู้ ความสามารถ ของหมอเขียน
           (ภาษาเมือง) ได้ นอกจากนี้ หมอเขียน เขื่อนทอง ยัง  เขื่อนทอง ซึ่งต้องอาศัยองค์ความรู้ ประสบการณ์ รวม
           พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เช่น การศึกษาความรู้ที่มี  ถึงความไว้วางใจจากชาวบ้านในชุมชน ให้เป็นผู้นำาใน

           การเรียนการสอนอย่างเป็นทางการ จนสามารถสอบ   การใช้ภูมิปัญญาไปพร้อม ๆ กับการอนุรักษ์ธรรมชาติ
           ผ่าน และได้รับใบประกอบโรคศิลปะสาขาเภสัชกรรม  และสิ่งแวดล้อม และสิ่งที่ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด คือ

           ไทย และใบประกอบโรคศิลปะสาขาเวชกรรมไทย       การละเว้นสิ่งมึนเมาและสิ่งเสพติดต่าง ๆ การรักษา
                5) การปฏิบัติตนที่เกี่ยวกับความเชื่อหรือข้อ  ศีล 5 การบูชา “ครู’’ ที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ ดังนั้น
           บังคับในการเป็นหมอพื้นบ้าน                  การศึกษาภูมิหลังของหมอพื้นบ้าน มีความสำาคัญที่

                หมอเขียน เขื่อนทอง มีข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัด  เห็นถึงกระบวนการเริ่มต้นการเป็นหมอพื้นบ้าน การ
           เกี่ยวกับการละเว้นสิ่งมึนเมา และสิ่งเสพติดต่าง ๆ   ปฏิบัติตัว การดำาเนินชีวิต รวมถึงการใช้ภูมิปัญญา
           มีการนับถือหรือบูชา สิ่งที่เป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจ   และองค์ความรู้ ในการรักษาผู้เจ็บป่วย ซึ่งกระบวน

           โดยหมอเขียน เขื่อนทอง ได้บูชาบรมครู หมอชีวกโก-   เหล่านี้ต้องอาศัยระยะเวลา ความรู้ ความสามารถของ
           มารภัจจ์ ที่เป็นบรมครูทางการแพทย์แผนไทย รวม  หมอพื้นบ้าน ความเชื่อใจของประชาชน และเชื่อมโยง
           ถึงบรรพบุรุษ และมีข้อปฏิบัติที่ต้องมีไว้ประจำาตัวอยู่  ไปถึงบริบทของชุมชน

           ตลอดเวลา คือ การรักษาศีล 5 โดยมีความเชื่อเรื่อง     ส่วนที่ 2 กระบวนการรักษาโรคนิ่วในระบบทาง
           ของการเจ็บป่วยนั้น มีความเชื่ออยู่ 3 ลักษณะ คือ   เดินปัสสาวะของหมอพื้นบ้าน
                                     ้
           การเจ็บป่วยด้วยธาตุทั้ง 4 (ดิน นำา ลม ไฟ) การเจ็บ     1)  การตรวจวินิจฉัย
           ป่วยจากระบบไหลเวียนโลหิต และการเจ็บป่วยที่เกิด     ใช้วิธีการซักถามอาการต่าง ๆ อาการที่สำาคัญที่
           จากการทำางานหนัก เป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้เกิดโรค  หมอเขียน เขื่อนทอง วินิจฉัยว่าเป็นโรคนิ่วในระบบ
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201