Page 192 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 192

174 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           ด้วย และยังเป็นภาระงานหนักในแผนกศัลยกรรมของ   และใช้ยาสมุนไพรจากหมอพื้นบ้านมาก่อน ดังนั้นจาก
           โรงพยาบาล เพราะมีผู้ป่วยมาทำาการผ่าตัดรักษาจำานวน  ความสำาคัญในบทบาทของหมอพื้นบ้านต่อการรักษา

                                                [2]
           มาก ต้องใช้งบประมาณไม่น้อยเพื่อใช้จ่ายในการนี้    โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ ทำาให้ผู้วิจัยตระหนัก
                การรักษาอาการของโรคนิ่วในระบบทางเดิน   ถึงคุณค่าของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของหมอ
           ปัสสาวะ ยังมีประชาชนจำานวนหนึ่งที่ยังคงใช้วิธีการ  พื้นบ้าน ที่ยังคงใช้องค์ความรู้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อ

           รักษาด้วยการแพทย์พื้นบ้าน เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่  การรักษาสุขภาพ จึงศึกษาค้นคว้าให้ทราบองค์ความ
           มีการสืบทอดต่อกันมา และเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน  รู้ถูกต้องและเป็นแบบแผน ภายใต้ในกระบวนการ
           สุขภาพที่ยังดำารงอยู่ โดยอาศัยรากฐานประสบการณ์   ศึกษาเชิงวิชาการแบบบูรณาการ

           และรากฐานความเชื่อ ซึ่งระบบการแพทย์พื้นบ้าน      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิหลัง
           ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ หมอพื้นบ้าน   ของ หมอเขียน เขื่อนทอง หมอพื้นบ้านในอำาเภอ
           ผู้ป่วย และบริบททางสังคม วัฒนธรรม ซึ่งเป็นทั้ง  สอง จังหวัดแพร่ ศึกษากระบวนการรักษาโรคนิ่วใน

           ศาสตร์และศิลป์ที่สั่งสม สืบทอดจากคนรุ่นก่อนสู่คน  ระบบทางเดินปัสสาวะตามภูมิปัญญาของ หมอเขียน
           รุ่นหลัง จากสถิติระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และ  เขื่อนทอง และศึกษาตำารับยาสมุนไพรของ หมอเขียน

           สุขภาพ (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ   เขื่อนทอง ที่ใช้รักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
           สื่อสาร โรงพยาบาลสอง อำาเภอสอง จังหวัดแพร่ มี
           ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะที่    ระเบียบวิธีศึกษ�

           โรงพยาบาลสอง ระหว่างปีงบประมาณ 2557–2559 พบ
           ว่า มีจำานวนผู้ป่วยถึง 636 ราย โดยพบผู้ป่วยนิ่วในไต   นิย�มศัพท์

           จำานวน 538 ราย เป็นผู้ป่วยเพศชาย จำานวน 343 ราย      หมอพื้นบ้าน หมายถึง ผู้ที่มีบทบาทสำาคัญ
           เพศหญิง จำานวน 195 ราย ผู้ป่วยนิ่วในท่อไต จำานวน   ในการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านดูแลสุขภาพ
           85 ราย เป็นผู้ป่วยเพศชาย จำานวน 49 ราย เพศหญิง   และรักษาโรคให้กับผู้ป่วยในชุมชน ซึ่งเป็นบุคคลที่

           จำานวน 36 ราย และผู้ป่วยนิ่วในไตร่วมกับนิ่วในท่อ  มีความรู้ความสามารถในการรักษาโรคนิ่วในระบบ
           ไต จำานวน 13 ราย เป็นผู้ป่วยเพศชาย จำานวน 8 ราย   ทางเดินปัสสาวะ ด้วยวิธีการใช้ยาสมุนไพร ได้รับการ
           เพศหญิง จำานวน 5 ราย โดยมีอายุระหว่าง 35–70 ปี   ขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้าน จากสำานักงานสาธารณสุข

           ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม และจากข้อมูลพบว่า   จังหวัดแพร่ และเป็นที่ยอมรับของประชาชนในท้องถิ่น
           มีผู้ป่วยหลายรายที่ไม่มารักษาต่อเนื่อง ซึ่งจากการ     ภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน หมายถึง องค์ความรู้
           ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยของหน่วยงานโรคไม่ติดต่อ   ความสามารถ และทักษะทั้งหมดที่เกี่ยวกับภูมิหลัง

           (Non-communicable disease: NCD) ยังพบว่า ผู้ป่วย  กระบวนการรักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
           ในจำานวนนี้ทำาการรักษาด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือ  และตำารับยาสมุนไพรของหมอเขียน เขื่อนทอง ที่ใช้

           ภูมิปัญญาจากหมอพื้นบ้าน โดยใช้พืชสมุนไพรในการ  รักษาโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
           รักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ โดยได้รับการบอก     การสืบทอดภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน หมายถึง
           ต่อของผู้ป่วยที่เคยเป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ  การสืบทอดองค์ความรู้ ความสามารถ และทักษะ
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197