Page 168 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 168

150 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564



                       ระเบียบวิธีศึกษ�                GC Oven เริ่มต้นที่ 40 °C นาน 5 นาที จากนั้นเพิ่ม

                การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ   อัตรา 7°C /นาที และเป็น 280°C นาน 10 นาที

           ระยะที่ 1 การพัฒนาน�้ามันนวดที่มีส่วนประกอบของ   อุณหภูมิของการฉีดสาร 220°C ฮีเลียมเป็นแก๊สตัวพา
           น�้ามันหอมระเหยจากผลมะแขว่น และระยะที่ 2 การ  ภายใต้ความดัน 7.05 ปอนด์/ตารางนิ้ว อัตราการไหล
           ประเมินฤทธิ์บรรเทาปวดกล้ามเนื้อน่องในผู้เข้าร่วม  39.90 มิลลิลิตร/นาที สภาวะของ MS ใช้ EM Voltage

           วิจัย สุขภาพดี                              1352.90 Analyzer คือ Quadrupole

           ระยะที่ 1 ก�รพัฒน�นำ้�มันนวดที่มีส่วน       ก�รคัดเลือกนำ้�มันพ�หะ (carrier oil)

           ประกอบของนำ้�มันหอมระเหยจ�กผลมะแขว่น            การเตรียมน�้ามันนวดเบื้องต้น

                                                           การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้น�้ามันพาหะ (car-
           วัตถุดิบสมุนไพรและก�รระบุชนิดพืช
                                                       rier oil) 3 ชนิด คือ น�้ามันมะพร้าว, น�้ามันดอก

                พืชมะแขว่นที่น�ามาใช้ศึกษาในครั้งนี้ น�ามาจาก  ทานตะวัน และน�้ามันข้าวโพด เนื่องจากน�้ามันทั้ง 3
           พื้นที่ต�าบลท่าสุด อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และ   ชนิดนี้ เป็นน�้ามันพืชที่ไม่เกิดการเหม็นหืนง่าย ราคา
           ท�าการระบุชนิดพืช โดยส่งตัวอย่างพืชวัตถุดิบเทียบ  ไม่แพง และเป็นน�้ามันบริสุทธิ์ (virgin oil) โดยน�้ามัน

           กับตัวอย่างพรรณไม้ (BKF 193835) ที่กรมอุทยาน  ทั้ง 3 ชนิดนี้ ถูกเตรียมเป็นน�้ามันนวดเบื้องต้น โดย
           แห่งชาติ สัตว์ป่า และพรรณพืช                ผสมน�้ามันหอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่นกับน�้ามัน

                                                       พาหะ แต่ละชนิดมีความเข้มข้นของน�้ามันหอมระเหย
           ก�รเตรียมพืชวัตถุดิบและก�รกลั่นนำ้�มันหอม   จากผลแห้งมะแขว่น ร้อยละ 5 (เป็นความเข้มข้นต�่า
           ระเหย
                                                       สุดที่มีกลิ่นหอมของน�้ามันหอมระเหยจากผลแห้ง
                ส่วนผลสดของมะแขว่น ถูกน�ามาท�าให้แห้งโดย  มะแขว่นในน�้ามันพาหะทั้ง 3 ชนิด) จากนั้นน�าน�้ามัน
           การตากแดด จากนั้น ผลแห้ง น�้าหนัก 1 กิโลกรัม ถูก  นวดเบื้องต้น 3 ชนิด มาทดสอบความคงตัว เพื่อคัด
           น�ามาบดหยาบ และน�าไปกลั่นน�้ามันหอมระเหย โดย  เลือกน�้ามันพาหะที่ดีที่สุด โดยประเมินจากความ

           การกลั่นด้วยน�้า (water distillation) โดยเครื่อง   คงตัว เมื่อถูกเตรียมเป็นน�้ามันนวดแล้ว
           clevenger apparatus ครั้งละ 200 กรัม เป็นเวลา 30      การทดสอบความคงตัวของน�้ามันนวดเบื้องต้น

           นาที                                            น�้ามันนวดเบื้องต้น 3 ชนิด ที่มีความแตกต่าง
                                                       กันของน�้ามันพาหะ ถูกน�ามาทดสอบความคงตัวโดย
           ก�รวิเคร�ะห์องค์ประกอบท�งเคมี
                                                       วิธีการเก็บในที่เย็นสลับร้อน (freeze and thaw

                น�้ามันหอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น ถูกน�ามา  cycle) เริ่มต้นโดยผู้วิจัยน�าน�้ามันนวดเบื้องต้นบรรจุ
           วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี โดยการใช้เทคนิค Gas   ในขวดแก้วสีชาจากนั้น ปิดฝาขวดน�้ามันให้สนิทแล้ว
           Chromatography-Mass Spectrometry (GC/MS),   เก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 4°C นาน 48 ชั่วโมง แล้วย้าย

           Capillary Column ที่ใช้ คือ HP-5MS,30 m x 0.25   มาเก็บในตู้อบอุณหภูมิ 45°C นาน 48 ชั่วโมง นับเป็น
           mm (i.d.) 0.25 µm ภายใต้สภาวะดังนี้ อุณหภูมิของ   1 รอบ ท�าซ�้าติดต่อกัน รวม 6 รอบ  เมื่อเสร็จสิ้น น�า
                                                                                 [18]
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173