Page 170 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 170

152 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           น�้ามันนวดมะแขว่นความเข้มข้น ร้อยละ 3, ร้อยละ 6      3. มีประวัติแพ้ยาสมุนไพรหรือแพ้น�้ามันหอม
           และร้อยละ 9 ในผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มที่ 1, กลุ่มที่ 2 และ  ระเหย

           กลุ่มที่ 3 ตามล�าดับ ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนถูกเหนี่ยวน�า     4. อยู่ในระหว่างการเข้าร่วมโครงการวิจัยอื่น ๆ
           ให้มีอาการปวดที่กล้ามเนื้อน่อง ทั้ง 2 ข้าง โดยวิธียืน     เกณฑ์การให้ผู้เข้าร่วมวิจัยยุติหรือเลิกจากการ
           เขย่งปลายเท้า (standing heels raise) และผู้เข้าร่วม  วิจัย (Discontinuation Criteria)

           วิจัยทุกคนถูกปกปิดเพื่อไม่ให้ทราบชนิดของน�้ามัน     1. ผู้เข้าร่วมวิจัยใช้ยาระงับปวดและระงับอักเสบ
           นวดที่ได้รับ (single-blinded)               (NSAIDs) หรือใช้สเตอรอยด์โดยการกินหรือฉีดใน
                                                       ระหว่างการทดสอบ
           ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง                         2. มีอาการเจ็บป่วยหรือประเมินแล้วว่าอาจเกิด

                ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นผู้เข้า  อันตรายได้ระหว่างการศึกษาวิจัย
           ร่วมวิจัยสุขภาพดี โดยท�าการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง      3. ไม่ปฏิบัติตามระเบียบวิธีวิจัยหรือค�าแนะน�า

           แบบเจาะจง (purposive sampling) ตามเกณฑ์ที่  หรือไม่สามารถมารับการตรวจได้ตามแผนวิจัย
           ก�าหนด จ�านวน 60 คน จากนั้น ท�าการสุ่มอย่างง่าย      4. ต้องการถอนตัวออกจากโครงการวิจัยไม่ว่า

           (simple random sampling) เข้ากลุ่ม จ�านวน 3 กลุ่ม   ด้วยเหตุผลใด
           กลุ่มละ 20 คน
                เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัย (Inclusion   ก�รเหนี่ยวนำ�ก�รปวดที่กล้�มเนื้อน่องในผู้เข้�

           Criteria)                                   ร่วมวิจัย
                1. เป็นผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งเพศชายและเพศหญิง      ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนถูกเหนี่ยวน�าการปวดที่

           อายุระหว่าง 18-22 ปี                        กล้ามเนื้อน่อง (gastrocnemius muscle) ทั้ง 2 ข้าง
                2. มีสุขภาพแข็งแรง และไม่มีอาการบาดเจ็บ   โดยการยืนเขย่งปลายเท้า (standing heels raise)
           ใด ๆ ที่บริเวณขาทั้ง 2 ข้าง                 เริ่มจากยืนตัวตรง และวางเฉพาะส่วนของปลายเท้า

                3. ไม่เคยออกก�าลังกายแบบมีแรงต้านหรือฝึก  ทั้ง 2 ข้าง (เว้นบริเวณส้นเท้า) บนระดับที่สูงจากพื้น
                ้
           ด้วยน�าหนักที่กล้ามเนื้อขา                  ประมาณ 7 นิ้ว มือทั้ง 2 ข้าง จับราวเพื่อความมั่นคง
                4. สมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัยและยินยอม  ในการฝึก เริ่มต้น ด้วยการยกส้นเท้าขึ้นจากพื้นให้สูง

           ปฏิบัติตามค�าแนะน�า                         ที่สุดพร้อมกับหายใจออก แล้วเกร็งค้างไว้ 2 วินาที
                เกณฑ์การคัดออกของผู้เข้าร่วมวิจัย (Exclu-  จากนั้นจึงลดส้นเท้าลงให้มากที่สุดพร้อมกับหายใจ
           sion Criteria)                              เข้าแล้วหยุดนิ่งค้างไว้ 2 วินาที นับเป็น 1 ครั้ง ท�าการ
                                                                           ้
                1.  มีการใช้ยาระงับปวดและระงับอักเสบ   ฝึกท่ายืนเขย่งปลายเท้าซ�า ๆ กัน 20 ครั้งต่อเซ็ต
           (NSAIDs) หรือใช้สเตอรอยด์โดยการกินหรือฉีด   รวมทั้งหมด 3 เซ็ต โดยให้เว้นช่วงพักระหว่าง

                2.  มีบาดแผลที่มีเลือดออกมาก (active   เซ็ต 30 วินาที การเหนี่ยวน�าดังกล่าว เป็นเทคนิค
           bleeding), บาดแผลที่มีการติดเชื้อ (infection), มี  ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา ซึ่งด�าเนินการโดยนัก
           กระดูกหักหรือข้อเคลื่อน                     วิทยาศาสตร์การกีฬา
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175