Page 167 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 167

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr 2021  149




            มีรสเผ็ด นิยมใช้แต่งรสและแต่งกลิ่นให้กับอาหาร [3-4]   เทียบกับระดับการผลิต TNF-α, IL-1β และ IL-6 ใน
            ในประกาศยาสามัญประจ�าบ้านแผนโบราณของ        เซลล์ RAW 264.7 macrophages โดยการเหนี่ยวน�า

            กระทรวงสาธารณสุข ให้ใช้ส่วนผลและเปลือกผล เป็น  ของ LPS และกดการแสดงออกของ iNOS Protein
                                                                            [16]
            ตัวยาช่วยในการขับลม, ขับถ่าย และเป็นยากษัยเส้น  และ COX-2 Protein ได้  การศึกษาทาง in vitro
                                    [5]
            หรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย  ในอินเดีย น�าส่วน  พบว่า น�้ามันหอมระเหยจากส่วนผล ซึ่งได้จากการ
            ผลน�ามาสกัดน�้ามัน หอมระเหย ซึ่งรู้จักกันทั่วไปในชื่อ  กลั่นด้วยน�้า (hydro distillation) มีฤทธิ์ยับยั้ง cyclo-
            ของ “Mullilam oil’’ เพื่อใช้ต้านการอักเสบ (anti-  oxygenase-1 (70.4%), cyclooxygenase-2 (88.9%)
                        [6]
            inflammatory)                               และ 5-lipoxygenase (7.57%)  และการศึกษาทาง
                                                                                [11]
                 การรวบรวมรายงานวิจัยทางอนุกรมวิธานเคมี   in vivo พบว่า เจลที่มีส่วนประกอบของน�้ามันหอม
            (chemotaxonomy) ของพืชต่าง ๆ ในวงศ์ Rutaceae   ระเหยจากผลแห้ง ร้อยละ 30 สามารถยับยั้งพฤติกรรม
            พบว่า เป็นพืชที่ให้น�้ามันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ต้านการ  แบบ licking ของหนูที่เกิดจากการท�าให้เยื่อบุปากเกิด

            อักเสบ โดยเฉพาะพืชจ�าพวกส้ม (Citrus) [7-8]  ซึ่ง   แผลด้วยแรงกดได้ทุกตัว (n = 6) ยับยั้งการบวมและ
            เป็นพืชหลักในวงศ์นี้  ส่วนผิวมีองค์ประกอบหลัก   แดงของเยื่อบุช่องปากในหนูทุกตัว และเมื่อน�าเนื้อเยื่อ
                             [9]
            ทางเคมีเป็น monoterpene เช่นเดียวกับน�้ามัน   บริเวณแผลมาส่องกล้องเพื่อท�าการวิเคราะห์ทาง
            หอมระเหยที่ได้จากผลมะแขว่น ที่ประกอบด้วย    เนื้อเยื่อวิทยา พบว่า จ�านวนของเซลล์อักเสบ (inflam-
            α-terpinene,α-terpineol, terpinen-4-ol, terpineol,   matory cells) ลดลงอย่างมีนัยส�าคัญ (p-value <

                                                                                         [17]
            α-pinene, sabinene และ limonene [3,10-11]  สาร  0.05) ภายหลังจากรักษาเป็นระยะเวลา 2 วัน
            ทั้งหมดที่พบในน�้ามันหอมระเหยที่ได้จากผลมะแขว่น      จากรายงานการศึกษาวิจัยที่ผ่านมานี้ แสดงให้

                                [12]
            แสดงฤทธิ์ต้านการอักเสบ  โดยเฉพาะ limonene   เห็นถึงฤทธิ์ทางชีวภาพทั้งการศึกษาในระดับเซลล์
            ซึ่งมีปริมาณสูงสุด [3,10]  เช่นเดียวกับที่พบในผลของ   (in vitro) และการศึกษาในสัตว์ทดลอง (in vivo) ของ
            Citrus [13-14]  สามารถยับยั้งการผลิต nitric oxide ,   มะแขว่น สามารถยับยั้งสารสื่อกลางการอักเสบที่ท�าให้
                                                  [13]
                                         [14]
                            [13]
            prostaglandin E  และ TNF-α  นอกจากนี้       เกิดอาการปวดได้ แต่ทั้งนี้ มะแขว่นยังจ�าเป็นที่จะต้อง
                           2
            รายงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับฤทธิ์ทางชีวภาพของ   ศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับฤทธิ์บรรเทาปวดในมนุษย์
            limonene พบว่า ความเข้มข้น 50 µg/ml สามารถกด  ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดที่จะวิจัยและพัฒนาน�้ามัน
            การแสดงออกของ cyclooxygenase-2 (COX-2)      นวดที่มีส่วนประกอบของน�้ามันหอมระเหยจากผล
            gene ได้ไม่แตกต่างจาก celecoxib ความเข้มข้น 20   มะแขว่น เพื่อน�ามาใช้ประเมินฤทธิ์บรรเทาปวดของ
            µM โดยการเหนี่ยวน�าของ lipopolysaccharides   กล้ามเนื้อน่องในผู้เข้าร่วมวิจัยสุขภาพดีซึ่งถูกเหนี่ยว

                                              [15]
            (LPS) ในเซลล์ RAW 264.7 macrophages  และ    น�าให้มีความปวด โดยวิธียืนเขย่งปลายเท้าได้ ทั้งนี้
            ความเข้มข้น 0.04% ยับยั้ง prostaglandin E  ได้  เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยสมุนไพร
                                                 2
            เทียบเท่ากับ dexamethasone ความเข้มข้น 20 µM   ท้องถิ่นสู่การประยุกต์ใช้ และเป็นการเพิ่มทางเลือก
            ยับยั้ง pro-inflammatory cytokines (TNF-α, IL-  ด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อการบรรเทาปวดกล้ามเนื้อ
            1β และ IL-6) อย่างมีนัยส�าคัญ (p-value < 0.01) เมื่อ  ให้กับประชาชนต่อไป
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172