Page 173 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 173

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr 2021  155



































                             ภาพที่ 1 GC Chromatogram ของน�้ามันหอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น





            น�้ามันไพล เท่ากับ 60.30 ± 0.20 cP และน�้ามัน  ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มที่ 3 อยู่ในช่วง 21 - 22 ปี มากที่สุด
            ลาเวนเดอร์ เท่ากับ 63.00 ± 0.12 cP และความรู้สึก  คิดเป็นร้อยละ 70 และทั้ง 3 กลุ่ม ส่วนใหญ่ไม่มีโรค
            เมื่อทาผิว พบว่า บริเวณท้องแขนทั้ง 2 ข้าง ไม่มีผื่น  ประจ�าตัว คิดเป็นร้อยละ 70 (กลุ่มที่ 1), ร้อยละ 80

            แดง, ไม่มีการบวม และไม่มีการระคายเคือง ดังแสดง  (กลุ่มที่ 2) และร้อยละ 85 (กลุ่มที่ 3) ดังแสดงใน
            ในตารางที่ 2 และภาพแสดงภายหลังการทดสอบความ  ตารางที่ 3
            คงตัวของน�้ามันนวดเบื้องต้น 3 ชนิด ดังแสดงใน

            ภาพที่ 2                                    4. ประเมินคะแนนคว�มปวดบนกล้�มเนื้อน่อง
                                                        ของผู้เข้�ร่วมวิจัย

            3. ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้�ร่วมวิจัย               ค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่อง

                 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมวิจัย พบว่า กลุ่ม  ข้างขวา ภายหลังจากทาน�้ามันมะแขว่น (น�้ามัน
            ที่ 1 และกลุ่มที่ 2 มีจ�านวนเพศชายน้อยกว่าเพศ  ทดสอบ) พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัย ทั้ง 3 กลุ่ม มีค่าเฉลี่ย

            หญิงเหมือนกัน โดยเพศชายคิดเป็นร้อยละ 20 และ   ของคะแนนความปวดลดลง เปรียบเทียบกับก่อนการ
            ร้อยละ 10 ตามล�าดับ แตกต่างจากกลุ่มที่ 3 ไม่มีเพศ  ทาน�้ามันมะแขว่น อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p-value

            ชายเลย ขณะที่ช่วงอายุของผู้เข้าร่วมวิจัย ทั้งกลุ่มที่ 1   < 0.05) และนอกจากนี้ พบว่า ค่าเฉลี่ยระดับความ
            และกลุ่มที่ 2 อยู่ในช่วง 19 - 20 ปี มากที่สุด คิดเป็น  ปวดของกล้ามเนื้อน่อง ข้างขวา ภายหลังการทาน�้ามัน
            ร้อยละ 90 และร้อยละ 100 แตกต่างจากช่วงอายุของ   มะแขว่นในผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 3 กลุ่ม ไม่มีความแตก
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178