Page 172 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 172
154 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
3. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับ 2. ก�รทดสอบคว�มคงตัวของนำ้�มันนวด
คะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่องระหว่างกลุ่ม เบื้องต้น
ตัวอย่าง ทั้ง 3 กลุ่ม โดยใช้สถิติ One-Way ANOVA ผลการทดสอบความคงตัวของน�้ามันนวดเบื้องต้น
พบว่า น�้ามันนวดเบื้องต้นที่มีน�้ามันดอกทานตะวันเป็น
ผลก�รศึกษ� น�้ามันพาหะนั้น เมื่อน�้ามันดอกทานตะวันผสมกับ
น�้ามันหอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น มีความคงตัว
1. ก�รวิเคร�ะห์องค์ประกอบท�งเคมี ดีที่สุด เนื่องจากเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่าของลักษณะ
ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของน�้ามัน โดยทั่วไปนั้น เป็นเนื้อเดียวกัน (homogeneity), มี
หอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น พบว่า องค์ประกอบ ความใส และ ไม่ตกตะกอน ให้สีเหลืองอ่อน และมีค่า
ทางเคมีหลัก คือ terpinen-4-ol ร้อยละ 19.87, ความสว่าง (ค่า L) เท่ากับ 18.07 มีกลิ่นของน�้ามันหอม
limonene ร้อยละ 18.62 และ sabinene ร้อยละ ระเหยจากผลแห้งมะแขว่น และไม่มีกลิ่นเหม็นหืน มี
17.31 ดังแสดงในตารางที่ 1 และ GC Chromato- ค่าความเป็นกรดด่าง (pH) เท่ากับ 4 มีค่าความหนืด
gram ดังแสดงในภาพที่ 1 เท่ากับ 59.30 ± 0.11 cP ขณะที่ค่าความหนืดของ
ตารางที่ 1 องค์ประกอบทางเคมีของน�้ามันหอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น
ลำาดับที่ องค์ประกอบทางเคมี Retention Time (นาที) %Relative Area Quality
1 α-Pinene 10.13 1.12 97
2 Sabinene 11.34 17.31 97
3 β-Myrcene 11.82 0.80 94
4 α-Phellandrene 12.15 0.58 94
5 α-Terpinene 12.48 0.88 98
6 p-Cymene 12.72 4.68 94
7 Limonene 12.85 18.62 97
8 β-Ocimene 13.32 0.61 98
9 n-Terpinene 13.58 1.76 97
10 α-Terpinolene 14.30 0.54 98
11 Terpineol 14.58 0.71 93
12 Linalool 14.62 1.70 95
13 Terpinen-4-ol 16.48 19.87 97
14 α-Terpineol 16.75 5.31 94
15 Caryophyllene 21.35 0.52 99
16 (-) – Caryophyllene Oxide 24.28 0.59 99