Page 169 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 169
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 151
น�้ามันนวดเบื้องต้นทั้ง 3 ชนิด มาตั้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง วิจัยสุขภาพดีต่อไป
นาน 24 ชั่วโมง จากนั้น น�ามาประเมินความคงตัว ดังนี้
1) ลักษณะโดยทั่วไป ประเมินโดยการสังเกต ก�รเตรียมนำ้�มันนวดมะแขว่น
ด้วยตาเปล่าจากผู้วิจัย จ�านวน 3 คน เพื่อดูความเป็น น�้ามันนวดมะแขว่น ถูกเตรียมขึ้นโดยน�าน�้ามัน
เนื้อเดียวกัน (homogeneity), ความขุ่น-ใส และการ พาหะที่ได้รับการคัดเลือกผสมกับน�้ามันหอมระเหย
ตกตะกอน จาก ผลแห้งมะแขว่น โดยให้มีระดับความเข้มข้นของ
2) สี ประเมินโดยการสังเกตด้วยตาเปล่าจาก น�้ามันหอมระเหย ร้อยละ 3, ร้อยละ 6 และร้อยละ 9
ผู้วิจัย จ�านวน 3 คน และประเมินโดยการวัดความ จากนั้น บรรจุใส่ขวดแก้วสีชา จ�านวน 5 มิลลิลิตรต่อ
เข้มของสี โดยใช้เครื่องวัดความเข้มของสี (chroma- ขวด เพื่อน�าไปประเมินฤทธิ์บรรเทาปวดกล้ามเนื้อน่อง
meter) ในผู้เข้าร่วมวิจัยสุขภาพดีต่อไป
3) กลิ่น ประเมินโดยการสูดดมจากผู้วิจัย
จ�านวน 3 คน ซึ่งต้องให้กลิ่นที่ดีตามส่วนประกอบที่ ระยะที่ 2 ก�รประเมินฤทธิ์บรรเท�ปวดกล้�ม
้
ใช้ คือ กลิ่นของน�ามันหอมระเหยจากผลแห้งมะแขว่น เนื้อน่องในผู้เข้�ร่วมวิจัยสุขภ�พดี
้
และไม่มีกลิ่นเหม็นหืนของน�ามันพาหะที่ใช้ ภายหลังจากได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
4) ความเป็นกรดด่าง ประเมินโดยใช้เครื่องวัด จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ค่าความเป็นกรดด่าง (pH meter) (เลขที่ 34/2555) ผู้วิจัยน�าน�้ามันนวดมะแขว่นมา
5) ความหนืด ประเมินโดยใช้เครื่องทดสอบ ประเมินฤทธิ์บรรเทาปวดกล้ามเนื้อน่องในผู้เข้าร่วม
ความหนืด (brookfield DV-II+ pro viscometer) วิจัยสุขภาพดี โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
และใช้หัววัดขนาดเบอร์ 2 (ขนาดเล็กที่สุด) จุ่มลงใน
น�้ามันนวดเบื้องต้น ตั้งค่าความเร็วรอบในการหมุน 90 รูปแบบก�รศึกษ�วิจัย
RPM เปรียบเทียบความหนืดกับน�้ามันนวดตัว 2 ชนิด การประเมินฤทธิ์ของน�้ามันนวดมะแขว่นที่มีต่อ
คือ น�้ามันไพล และน�้ามันลาเวนเดอร์ การบรรเทาปวดกล้ามเนื้อน่องในผู้เข้าร่วมวิจัยสุขภาพ
6) ความรู้สึกเมื่อทาผิว ประเมินโดยการทา ดีนั้น มีรูปแบบการศึกษาวิจัย เป็น single-blinded
น�้ามันนวดเบื้องต้นปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร บน randomized controlled trial เพื่อเปรียบเทียบระดับ
ท้องแขน เป็นระยะเวลา 6 ชั่วโมง สังเกตผื่นแดง, การ คะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่องข้างขวาซึ่งทา
บวม และความรู้สึกระคายเคือง จากผู้วิจัยจ�านวน น�้ามันนวดมะแขว่น (น�้ามันทดสอบ) และกล้ามเนื้อ
[19]
3 คน ซึ่งทาน�้ามันนวดบนท้องแขนทั้ง 2 ข้าง น่องข้างซ้ายซึ่งทาน�้ามันพาหะ (น�้ามันหลอก), เปรียบ
น�้ามันนวดเบื้องต้นที่มีความคงตัวดีที่สุด จะถูก เทียบระดับคะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่องข้าง
คัดเลือกเข้ามา จากนั้น ผู้วิจัยจะน�าน�้ามันพาหะชนิด ขวาก่อนการทาน�้ามันนวดมะแขว่น (วันที่ 0) และหลัง
ที่มาจากน�้ามันวดเบื้องต้นที่มีความคงตัวดีที่สุดนี้ มา การทาน�้ามันนวดมะแขว่น (วันที่ 6) โดยทาวันละสอง
เตรียมเป็นน�้ามันนวดที่มีส่วนประกอบของน�้ามันหอม ครั้ง เช้าเย็น ติดต่อกัน 5 วัน และเปรียบเทียบระดับ
ระเหยจากผลมะแขว่น ส�าหรับการทดสอบในผู้เข้าร่วม คะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่องข้างขวา ซึ่งทา