Page 163 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 163

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr  2021  145




            ต่อบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เหมาะกับผลิตภัณฑ์ในระดับมาก   และผู้เข้าร่วมวิจัยมีความพึงพอใจต่อบรรจุภัณฑ์แบบ
            ร้อยละ 4.40 มีความพึงพอใจฉลากที่ใช้เหมาะสมกับ  กระปุกมากที่สุดร้อยละ 44.4

            ผลิตภัณฑ์ในระดับมาก ร้อยละ 4.55 มีความพึงพอใจ
            โดยรวมต่อผลิตภัณฑ์ในระดับมากที่สุด ดังแสดงใน  ข้อเสนอแนะ
            ตารางที่ 5 จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความ     1.  ควรเก็บรักษาในภาชนะที่ปิดสนิทเพื่อ

            พึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ในระดับมากถึงมากที่สุด อาจ  ป้องกันความชื้นและยืดอายุของผลิตภัณฑ์
            เนื่องมาจากผลิตภัณฑ์ได้ผ่านการทดสอบคุณสมบัติ     2.  ควรพัฒนาสีของผลิตภัณฑ์ให้มีความหลาก
            ทางกายภาพ และมีคุณสมบัติเหมาะสมตามมาตรฐาน   หลายและมีความดึงดูดมากขึ้น

            มผช.175/2554 สำาหรับรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุ     3.  ควรพัฒนาผลิตภัณฑ์พอกผิวให้เหมาะสม
            ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม พบว่า ผู้  กับสภาพผิวแต่ละประเภท
            เข้าร่วมวิจัยมีความชอบบรรจุภัณฑ์แบบที่ 1 ร้อยละ

            44.4 ซึ่งมีลักษณะเป็นกระปุก เพราะบรรจุภัณฑ์ มี         กิตติกรรมประก�ศ
            ลักษณะที่ปิดมิดชิด สวยงาม และเมื่อนำาฉลากมาติด     ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างที่ให้ความร่วมมือ

            บนบรรจุภัณฑ์ ทำาให้แสดงลักษณะที่โดดเด่นขึ้น  ขอขอบคุณอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยทั้ง 3 ท่าน ได้แก่
                                                        อาจารย์ปิยะนุช สุวรรณรัตน์ อาจารย์เกรียงไกร
                             ข้อสรุป                    บรรจงเมือง อาจารย์ศิริรัตน์ ศรีรักษา ที่ให้การ


                 จากการศึกษาผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อ  สนับสนุน และให้คำาปรึกษา ในการทดลองวิจัยครั้ง
            เมล็ดมะขาม ในกลุ่มตัวอย่าง 27 คน โดยการศึกษา  นี้จนสำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณ อาจารย์ตั้ม

            คุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจาก  บุญรอด ที่ให้คำาปรึกษาในการหาจำานวนประชากรกลุ่ม
            เนื้อเมล็ดมะขาม พบว่า สูตรตำารับที่มีความเหมาะสม  ตัวอย่างที่ถูกต้อง และขอขอบคุณทุนอุดหนุนการวิจัย
            ที่สุด มีส่วนประกอบของสารสำาคัญเนื้อเมล็ดมะขาม  จากคณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัย

            ร้อยละ 5 ผลิตภัณฑ์มีลักษณะเนียน หนืดปานกลาง   ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
            สีเทา กลิ่นหอมนำ้านมข้าว ไม่มีสิ่งแปลกปลอมในส่วน
                                                                       References
            ของการศึกษาการระคายเคือง ประสิทธิผลของความ
                                                          1.  Wangein C. 4 top Thai herbs [Internet]. 2018 [cited 2019
            ชุ่มชื้นของผิวหนังหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจาก  July 25]; Available from: https://www.thaihealth.or.th/
            เนื้อเมล็ดมะขาม พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยร้อยละ 100 ไม่มี  Content/42882- (in Thai)
                                                          2.  Department of International trade Promotion ministry
            อาการระคายเคือง และมีความชุ่มชื้นของผิวหนังเพิ่ม  of commerce. Thai herb exports [Internet]. 2019 [cited

            ขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) และจากการ  2019 August 20]; Available from: https://www.ditp.go.th/
                                                            contents_attach/560109/560109.pdf?fbclid=IwAR0-
            ศึกษาความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจาก        y59Zd_Ra0eTxcaUbU8kVaWoN75-jQah0Hj7ehmY5_

            เนื้อเมล็ดมะขาม และรูปแบบบรรจุภัณฑ์ของกลุ่ม     yG0_Z_Vce1Suvg. (in Thai)
                                                          3.  Sinchaiyakit P, Suttajit M. Biochemical properties and
            ตัวอย่าง พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความพึงพอใจต่อ  applications of tamarind (Tamarindus indica Linn.) seed
            ผลิตภัณฑ์ในระดับความพึงพอใจมากถึงมากที่สุด      Faculty of Medical Science. University of Phayao; 2011.
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168