Page 171 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 171

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr 2021  153




            เครื่องมือที่ใช้ในก�รศึกษ�วิจัย                  3.  ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
                 แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ                      3.1 วันเริ่มต้น (วันที่ 0) ท�าการเก็บรวบรวม

                 เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ             ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมวิจัย ตามแบบบันทึกข้อมูล
                 1)  น�้ามันนวดมะแขว่น (น�้ามันทดสอบ) โดย   ทั่วไป
            มีส่วนประกอบของน�้ามันพาหะที่ถูกคัดเลือก มาผสม        3.2 ท�าการเหนี่ยวน�าการปวดที่กล้ามเนื้อ

            กับน�้ามันหอมระเหยจากส่วนผลแห้งของมะแขว่น    น่อง ทั้ง 2 ข้าง แก่ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคน โดยนัก
            ที่ระดับความเข้มข้น ร้อยละ 3, ร้อยละ 6 และ   วิทยาศาสตร์การกีฬา
            ร้อยละ 9                                           3.3 ประเมินระดับความปวดที่กล้ามเนื้อน่อง

                 2)  น�้ามันพาหะ (น�้ามันหลอก) เป็นน�้ามันพาหะ  ทั้ง 2 ข้าง โดยใช้แบบประเมินอาการปวด ชนิดตัวเลข
            ที่ถูกคัดเลือกเข้ามา แต่ไม่มีส่วนประกอบของน�้ามัน  (numerical rating scale) ในผู้เข้าร่วมวิจัยหลังจาก
            หอมระเหยจากส่วนผลแห้งของมะแขว่น             สิ้นสุดการเหนี่ยวน�าทันที

                 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล             3.4 ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนจะได้รับน�้ามันนวด
                 1)  แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมวิจัย   มะแขว่น ความเข้มข้นร้อยละ 3, ร้อยละ 6 และ

            ประกอบด้วย เพศ, อายุ และโรคประจ�าตัว        ร้อยละ 9 ในกลุ่มที่ 1, กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 ตามล�าดับ
                 2)  แบบประเมินอาการปวดชนิดตัวเลข (nu-  ควบคู่กับได้รับน�้ามันพาหะ (น�้ามันหลอก)
            merical rating scale) ที่มีเส้นตรงขีดแบ่งเป็นช่อง        3.5 ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนได้รับค�าแนะน�าใน

            เท่า ๆ กัน จ�านวน 10 ช่อง และมีหมายเลขก�ากับตั้งแต่   การทาน�้ามัน (โดยท�าฉลากวิธีการทายา) โดยให้ทา
            0-10 โดยให้เลข 0 หมายถึง ไม่มีความปวด (no pain)   น�้ามันนวดมะแขว่นที่กล้ามเนื้อน่องข้างขวา และทา

            และให้เลข 10 หมายถึง มีความปวดมากที่สุด (worst   น�้ามันพาหะ (น�้ามันหลอก) ที่น่องข้างซ้าย ทาครั้งละ
            pain)                                       5 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น โดยไม่ต้อง
                                                        ล้างออก ติดต่อกัน 5 วัน
            วิธีก�รศึกษ�                                       3.6 วันสุดท้าย (วันที่ 6) ประเมินระดับความ

                 1.  ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือก  ปวดที่กล้ามเนื้อน่อง ทั้ง 2 ข้าง โดยใช้แบบประเมิน
            ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 60 คน จะได้รับการชี้แจง  อาการปวดชนิดตัวเลข (numerical rating scale)

            และขอความยินยอมพร้อมทั้งลงนามในแบบแสดง
            ความยินยอมเข้าร่วมวิจัย (informed consent   ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
            form)                                            1. ข้อมูลทั่วไป น�ามาแจกแจงความถี่ และ

                 2.  ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกคนจะได้รับการสุ่มอย่าง  ร้อยละ
            ง่ายเข้ากลุ่ม โดยผู้วิจัยใช้รหัสแทนชื่อของผู้เข้าร่วม     2. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับ

            วิจัย จากนั้น น�ารหัสทั้งหมดมาใส่กล่อง และท�าการ  คะแนนความปวดของกล้ามเนื้อน่อง ก่อน (วันที่ 0)
            สุ่มจับรหัสขึ้นมา เพื่อเข้ากลุ่มจ�านวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ   และหลังการทาน�้ามัน (วันที่ 6) โดยใช้สถิติ paired
            20 รหัส (คน)                                t-test
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176