Page 162 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 162

144 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           ตารางที่ 5  ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจต่อการใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม
                    ในกลุ่มตัวอย่าง จำานวน 27 คน

                                                               ระดับความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์
                        สิ่งที่ประเมิน                         พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม
                                                           Mean ± S.D.              แปลผล

            1.  ท่านชอบสีของผลิตภัณฑ์เพียงใด               4.22 ± 0.50            พึงพอใจมาก
            2.  ท่านชอบลักษณะเนื้อครีมของผลิตภัณฑ์เพียงใด   4.18 ± 0.48           พึงพอใจมาก
            3.  ท่านชอบกลิ่นของผลิตภัณฑ์เพียงใด            4.48 ± 0.57            พึงพอใจมาก
            4.  ท่านคิดว่าผลิตภัณฑ์สามารถล้างออกง่ายเพียงใด   4.14 ± 0.71         พึงพอใจมาก
            5.  ท่านคิดว่าผลิตภัณฑ์ให้ความชุ่มชื้นกับผิวได้ดีเพียงใด   4.33 ± 0.48   พึงพอใจมาก
            6.  ท่านคิดว่าผลิตภัณฑ์ให้ความเรียบเนียนกับผิวได้ดีเพียงใด   4.37 ± 0.56   พึงพอใจมาก

            7.  ท่านคิดว่าบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์เพียงใด   4.40 ± 0.50   พึงพอใจมาก
            8.  ท่านคิดว่าฉลากที่ใช้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์เพียงใด   4.40 ± 0.50      พึงพอใจมาก
            9.  ท่านมีความพึงพอใจโดยรวมต่อผลิตภัณฑ์เพียงใด   4.55 ± 0.50          พึงพอใจมากที่สุด




           ที่เหมาะสม คือ ไม่แยกชั้นหรือจับตัวเป็นก้อน ไม่มีสิ่ง  ไซโลกลูแคน ซึ่งมีคุณสมบัติในการเพิ่มความชุ่มชื้น
                         ่
           แปลกปลอม สีสมำาเสมอ มีกลิ่นที่ดี เมื่อทาแล้ว เนียน  ให้กับผิวหนัง ผลการทดสอบการระคายเคืองของ
           อยู่บนผิว ไม่ฝืด ไม่เป็นปื้น ไม่เหนียวเหนอะหนะ   ผิวหนังหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด

           สามารถเกลี่ยให้ทั่วบริเวณผิวหนัง และพอกบริเวณ  มะขาม พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยไม่มีอาการ ระคายเคือง
           ผิวหนังได้ ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน   ไม่มีรอยแดง ร้อยละ 100 คิดเป็นดัชนีความระคาย
           (มผช.175/2554)                              เคืองได้เท่ากับ 0

                ผลการประเมินความชุ่มชื้นของผู้เข้าร่วมวิจัย      ผลการทดสอบความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
           พบว่า ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด  วิจัย พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยร้อยละ 4.22 มีความพึง
           มะขาม มีค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   พอใจต่อสีของผลิตภัณฑ์ในระดับมาก ร้อยละ 4.18

           เท่ากับ 41.98 ± 5.38 และหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอก   มีความพึงพอใจต่อลักษณะเนื้อครีมของผลิตภัณฑ์
           ผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยง  ในระดับมาก ร้อยละ 4.48 มีความพึงพอใจต่อกลิ่น
           เบนมาตรฐาน เท่ากับ 56.02 ± 6.84 โดยผู้เข้าร่วมวิจัย  ของผลิตภัณฑ์ในระดับมาก ร้อยละ 4.14 มีความ

           มีความชุ่มชื้นของผิวหนังเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทาง  พึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์สามารถล้างออกง่ายในระดับ
           สถิติ (p < 0.05) ดังแสดงในตารางที่ 4 สอดคล้องกับ  มาก ร้อยละ 4.33 มีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ให้

           กับงานวิจัยของ ปิยะนุช สุวรรณรัตน์ (2556) พบว่า   ความชุ่มชื้นกับผิวได้ดีในระดับมาก ร้อยละ 4.37 มี
           ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม สามารถ  ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ให้ความเรียบเนียนกับ
           เพิ่มความชุ่มชื้นของผิว เพราะเนื้อเมล็ดมะขามมีสาร  ผิวได้ดีในระดับมาก ร้อยละ 4.40 มีความพึงพอใจ
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167