Page 159 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 159

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr  2021  141




                                                        เป็นการถามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม
                                                        โดยมีเกณฑ์การตอบแบบสอบถามแบบให้ค่าคะแนน

               ตำาแหน่งทดสอบ              X             1-5 มีความหมายดังนี้ 5 = พอใจมากที่สุด 4 = พอใจ
                                                        มาก 3 = พอใจ ปานกลาง 2 = พอใจน้อย 1 = พอใจ
                                                        น้อยที่สุด ซึ่งสามารถแปลผลได้ดังนี้ 4.50-5.00 คือ

                                                        พึงพอใจมากที่สุด 3.50-4.49 คือ พึงพอใจมาก 2.50-
                                                        3.49 คือ พึงพอใจปานกลาง 1.50-2.49 คือ พึงพอใจ
                                                        น้อย 1.00-1.49 คือ พึงพอใจน้อยที่สุด

                                                             ส่วนที่ 3 แบบประเมินความพึงพอใจต่อรูป
                      ภาพที่ 2  ตำาแหน่งทดสอบ
                                                        แบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด
                                                        มะขาม

            จากนั้นวัดค่าความชุ่มชื้นผิวหนังบริเวณตำาแหน่ง     ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ
            ทดสอบด้วยเครื่องวัดความชุ่มชื้น บันทึกข้อมูล) [5]     11. การวิเคราะห์ข้อมูล

                 9. การประเมินความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์          11.1 การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้
            พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม                 ตอบแบบสอบถามโดยใช้การหาค่าร้อยละ
                 คัดเลือกผลิตภัณฑ์พอกผิวกายที่มีคุณสมบัติ       11.2 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความ

            ทางกายภาพดีที่สุด มาทดสอบในผู้เข้าร่วมวิจัยจำานวน   พึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามต่อผลิตภัณฑ์พอก
            27 คน โดยประเมินความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ เช่น   ผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขามโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
            ลักษณะของเนื้อผลิตภัณฑ์ สี กลิ่น ความสามารถล้าง  ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

            ออกได้ง่าย ความชุ่มชื้นหลังใช้ ความรู้สึกบนผิวหนัง  และในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้โปรแกรม
            หลังใช้ ความพึงพอใจโดยรวม และความพึงพอใจต่อ  Statistical Package for the Social Science
            รูปแบบบรรจุภัณฑ์                            (SPSS) Base 22.0

                 10. เครื่องมือที่ใช้วิจัย
                 แบบสอบถามจำานวน 1 ชุด แบ่งออกเป็น 4 ส่วน             ผลก�รศึกษ�

            ดังนี้                                           จากผลการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของ
                 ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วม  ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม พบว่า
            วิจัยประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ อายุ เพศ สถานภาพ  ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายที่มีคุณสมบัติทางกายภาพที่

            ปัจจุบัน ระดับการศึกษา อาชีพ การใช้ผลิตภัณฑ์  เหมาะสมที่สุด คือ สูตรที่ 2 มีส่วนประกอบของสาร
            สมุนไพร                                     สำาคัญเนื้อเมล็ดมะขามร้อยละ 5 เนื้อครีมมีลักษณะ
                                                                                      ้
                 ส่วนที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้  เนียน หนืดปานกลาง สีเทา กลิ่นหอมนำานมข้าว ไม่มี
            เข้าร่วมวิจัยต่อผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด  สิ่งแปลกปลอม (ภาพที่ 3) และแสดงคุณสมบัติทาง
            มะขาม โดย ตั้งคำาถามเป็นแบบ rating scale ซึ่ง  กายภาพ ดังแสดงในตารางที่ 2
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164